Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการดำเนินงานความร่วมมือด้านความมั่นคงของกระทรวงกลาโหม,(วปอ.10171)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี พงษ์ศักดิ์ หมื่นกล้าหาญ,(วปอ. 10171)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการด าเนินงานความร่วมมือด้านความมั่นคงของกระทรวงกลาโหม ลักษณะวิชา การเมือง ผู้วิจัย พลตรี พงษ์ศักดิ์ หมื่นกล้าหาญ หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี ๖๖ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท และแผนปฏิบัติการของแต่ละส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้อง กับความมั่นคงระหว่างประเทศ จะมีการก าหนดแนวทางและความจ าเป็นในการด าเนินนโยบาย ด้านการเมืองและความมั่นคงระหว่างประเทศไว้เพื่อเป็นการรักษาดุลยภาพของโลกหลายขั้วอ านาจ และเพื่อปกป้องและรักษาไว้ซึ่งอ านาจอธิปไตยของชาติ ท าให้ประเทศไทยจ าเป็นท่ีจะต้องเข้าไป มีส่วนร่วมและปฏิบัติตามพันธกรณีกับองค์การระหว่างประเทศในหลากหลายระดับและมิติ โดยในแต่ละปีกระทรวงกลาโหมมีกรอบความร่วมมือในระดับกระทรวงและระดับเหล่าทัพท่ีจะต้อง ด าเนินการจ านวนมากพอสมควร ท้ังในกรอบความร่วมมือท่ัวไป และกรอบความร่วมมือด้าน ความมั่นคงชายแดนแบบทวิภาคีกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยวัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ประกอบด้วย ๑. เพื่อศึกษารูปแบบและวิธีการในการด าเนินการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงระหว่าง ประเทศในภาพรวมของกระทรวงกลาโหม ๒. เพื่อศึกษาแนวทางการด าเนินงานความร่วมมือด้าน ความมั่นคงระหว่างประเทศโดยส่วนราชการในกระทรวงกลาโหม และ ๓. เพื่อวิเคราะห์และจัดท า ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานความร่วมมือด้านความมั่นคงท้ังในเชิงนโยบายและหน่วยปฏิบัติ ผลการวิจัย ได้รับทราบว่าหน่วยงานหลักภายในกระทรวงกลาโหม ซึ่งประกอบด้วย ส านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ และ กองทัพอากาศ มีรูปแบบในการด าเนินงานความร่วมมือด้านความมั่นคงกับประเทศเพื่อนบ้านและ มิตรประเทศ ท้ังในรูปแบบพหุภาคีในกรอบอาเซียน จ านวน ๔ – ๕ กลไกความร่วมมือ และ ในรูปแบบทวิภาคี ต้ังแต่ ๗ – ๑๘ ประเทศ รวมท้ังกลไกความมั่นคงชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน (กัมพูชา ลาว เมียนมา และมาเลเซีย) ต้ังแต่ระดับกระทรวงกลาโหมลงมาจนถึงระดับเหล่าทัพ โดยจะมีวิธีการด าเนินการในลักษณะของการจัดต้ังคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือคณะท างาน ขึ้นมารับผิดชอบเป็นการเฉพาะในแต่ละกลไกหรือเวทีการประชุม ส าหรับแนวทางและรูปแบบ การบริหารจัดการในการด าเนินงานแต่ละส่วนราชการเป็นไปตามวงรอบ ๔ ขั้นตอนหลักท่ีรัฐบาล ก าหนด ต้ังแต่ขั้นการวางแผน ขั้นการปฏิบัติ ขั้นการตรวจสอบ และขั้นการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งแต่ละ ส่วนราชการได้ก าหนดให้ กรมฝ่ายเสนาธิการ ท่ีรับผิดชอบด้านยุทธการ ระดับ “กองงาน” และ “ส านัก” เป็นหน่วยรับผิดชอบหลักในการด าเนินงาน เพื่อให้เป็นไปตามวงรอบในแต่ละขั้นตอน ดังกล่าวผ่านระบบสารสนเทศภายใต้ระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ หรือ eMENSCR จากการวิเคราะห์รูปแบบแนวทางในการด าเนินงานและการบริหารจัดการงานความ ร่วมมือด้านความมั่นคงในภาพรวมของกระทรวงกลาโหมแล้ว มีข้อเสนอแนะว่าควรมีการปรับปรุง โครงสร้างการจัดองค์กรและกลไกการด าเนินงาน ให้มีความทันสมัยและอ่อนตัว เพื่อรองรับ การบูรณาการในการด าเนินงานความร่วมด้านความมั่นคงในอนาคต ได้แก่ ๑. พิจารณาปรับปรุง โครงสร้างการจัดส่วนราชการภายใน “ส านักนโยบายและแผนกลาโหม” โดยอาจพิจารณาให้ ข “ส านักงานอาเซียน” รับโอนงานจาก “กองความร่วมมือด้านความมั่นคง” ของส านักนโยบายและ ยุทธศาสตร์ มาไว้ภายใต้ “ส านัก” เดียวกัน และท าการปรับโครงสร้างและอัตราการจัดหน่วยระดับ กองงานใหม่ รวมท้ังปรับเปล่ียนช่ือส านักไปเป็นช่ือใหม่ให้สอดคล้องกับขอบเขตงานท่ีกว้างขึ้น ๒. ปรับโอนงานและความรับผิดชอบกรอบการประชุมระดับคณะกรรมการชายแดนท่ัวไปกับประเทศ เพื่อนบ้าน มาไว้ท่ีส านักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ซึ่งเดิมมอบหมายให้ กรมกิจการชายแดนทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย รับผิดชอบท าหน้าท่ีเป็นฝ่ายเลขานุการ และ ๓. พิจารณาปรับปรุง โครงสร้างการจัดหน่วยในกรมยุทธการทหารบก ซึ่งปัจจุบันมีหน่วยรับผิดชอบเพียงระดับ “แผนก” ของกองนโยบายและแผน โดยให้มีหน่วยระดับ “กอง” รับผิดชอบการด าเนินงานดังกล่าว ส าหรับข้อเสนอแนะเก่ียวกับการปรับปรุง/ปรับเปลี่ยน/เพิ่มเติมวิธีการบริหาร จัดการงานความร่วมมือด้านความมั่นคงกับมิตรประเทศส าหรับให้ส่วนราชการในกระทรวงกลาโหม พิจารณา ได้แก่ ๑. ควรมีการจัดท าระบบสารสนเทศข้อมูลเกี่ยวกับการด าเนินงานความร่วมมือด้าน ความมั่นคงในภาพรวมของกระทรวงกลาโหม หรืออย่างน้อยในระดับกองทัพไทย เพื่อให้แต่ละส่วน ราชการได้น าข้อมูลไปใช้ประโยชน์ร่วมกัน ๒. ควรมีการจัดท าแบบฟอร์มไว้ส าหรับการเสนอแผนงาน ความร่วมมือฯ ท่ีมีมาตรฐานเดียวกัน เพื่อให้แต่ละส่วนราชการท่ีรับผิดชอบได้น าไปใช้ในการ ตรวจสอบความเช่ือมโยงสอดคล้องกับนโยบายและแนวทางการด าเนินงานความร่วมมือด้าน ความมั่นคงท่ีเกี่ยวข้อง ๓. ควรท าการปรับปรุงและจัดท าคู่มือ หรือข้อมูลและค าแนะน า ตามห้วงเวลา เพื่อให้หน่วย/ผู้ปฏิบัติตามแผนงานความร่วมมือในแต่ละประเภทได้รับทราบข้อมูลท่ีเหมาะสม ถูกต้อง และทันสมัย ๔. ควรมีการจัดท ารายงานผลการปฏิบัติในทุกแผนงานความร่วมมือฯ เพื่อให้หน่วยงาน ท่ีรับผิดชอบในการจัดท าแผนงานในปีถัดไป มีข้อมูลท่ีครบถ้วนส าหรับน าไปปรับปรุง แก้ไข และ พัฒนาการด าเนินแผนงานความร่วมมือฯ ได้อย่างเหมาะสมยิ่งขึ้น และ ๕. เห็นสมควรให้หน่วยงาน ท่ีรับผิดชอบในการจัดท าแผนงานความร่วมมือฯ และหน่วยงานท่ีรับผิดชอบสายงานงบประมาณ หารือร่วมกันเกี่ยวกับแนวทางปรับปรุงระบบการจัดท าแผนและค าของบประมาณท่ีสอดคล้องกับ ระบบการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งอาจจะต้องผสมผสานแนวทางการจัดต้ังค าของบประมาณ ท้ังแบบรวมการหรือแยกการหน่วยเจ้าของงบประมาณ และการปรับโครงสร้างงบประมาณระหว่าง การแยกหมวดหมู่ประเภทกิจกรรม หรือแยกตามประเทศคู่ภาคี เป็นต้น

abstract:

ค Abstract Title Security Cooperation Management under Ministry of Defense Field Politics Name Major General Pongsak Munklahan Course NDC Class 66 Master Plans and Action Plans under the National Strategy relating to international security provide key guidance and policies on international politics and security for each official organizations to formulate and implement their action plans. In order to make balance in Multipolar Super Great Power nations and to maintain nation sovereignty, it is vital for Thailand to engage in legal bonding with various international organizations ranging from multi levels and dimensions. Each year Ministry of Defense, at ministry level and individual armed services, has engaged in quite a lot of international security and military cooperation in both general forums and bilateral border committees. Objectives of this research consists of 1. to study how each organization in Ministry of Defense conducts its international security cooperation, 2. to study how each organization in Ministry of Defense carries out and manages its international security and military cooperation, and 3. to analyze and provide recommendations on how Ministry of Defense should carry out and manage international security and military cooperation both at the policy level (ministry level) and at the operational level (main organic units). Result of this research depicts that each main organizations in Ministry of Defense; consisting of Office of the Permanent Secretary for Defense, Royal Thai Armed Forces Headquarters, Royal Thai Army, Royal Thai Navy and Royal Thai Air Force, have engaged in international and ASEAN security with neighbour countries and allies comprising of 4 to 5 Multilateral forums and in form of Bilateral mechanism with 7 to 18 countries. Ministry of Dense has also engaged in bilateral border security committees with each four neighbour countries (Cambodia, Laos, Myanmar and Malaysia). These bilateral and multilateral engagement bodies can be found in forms of “committee”, “subcommittee” or “working group” for each cooperation mechanisms. The study has also found that each organization in Ministry of Defense has carried out and managed its international security and military cooperation according to “PDCA” model as guided by government; namely, Plan, Do, Check, Act. The Study found that each organization in Ministry of Defense has designated a unit within General Staff Directorate for Operations at level of “Division” or “Office” to be the main office responsible for full performing these key tasks in such PDCA cycle under the ง “Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and Country Reform” or eMENSCR model. Another result of the analyze on how Ministry of Defense carry out and manage its international security and military cooperation suggests that some units should reorganize and improve their working process in accordance with future comprehensive and adjustable international security environment; including, 1. considering structural reorganization into only one complete office under “The Office of ASEAN, Ministry of Defense” by transferring “Security Cooperation Division” which is currently an organic unit of “The Office of Policy and Strategy”, as well as, rename the “Office” and rearrange internal sub-unit and authorized personal rates in each divisional level as to ensure that such structural reorganization will be handle with all scopes of Ministry of Defense’ responsibilities., 2. Considering of transferring all tasks and responsibilities of General Border Committee (GBC) to the Office of the Permanent Secretary for Defense which Department of Border Affairs, Royal Thai Armed Forces Headquarters has been presently authorized to be the Secretariat for the GBC., and 3. Rearranging structure of “Directorate of Operations, Royal Thai Army” by establishing a “Division” responsible for military cooperation which is now carried out by only one “Section” under the Policy and Plan Division. Another recommendations for each organization in Ministry of Defense as to improving, changing and enhancing the international security and military cooperation includes 1. Managerial Information System for military cooperation should be established at least at the Armed Forces level, being managed by the Royal Thai Armed Forces Headquarters., 2. There should be the Common and Standard Forms for planning process that would be helpful for policy linkage and correspondence at all levels., 3. Information and Guidance for implementing military cooperation for each units should periodically revised for updates., 4. All military activity program should be accounted for officially reports and evaluations in order to provide sufficient information for improvement of the following year program. Lastly, 5. it is advised that there should be discussion among responsible units concerning “Plan and Strategy” under the National Strategy and “Budget and Finance” under national budget systems in order to ensure that all plans and projects could be interpreted and conformed with budget allocation structures. Consequently, it might cope with the combinations between the functional approach where budgets would be allocated by grouping same type of activities; whereas, the agenda approach would address on grouping all activities by each counterpart countries.