Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์กับการบริหารจัดการเลือกตั้งศึกษาเฉพาะกรณีการอำนวยความสะดวกผู้สูงอายุ ในการลงคะแนนเลือกตั้ง,(วปอ.10170)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, ร้อยตำรวจเอก พงศ์บัณฑิต ปิ่นสุวรรณ,(วปอ. 10170)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์กับการบริหารจัดการเลือกต้ัง ศึกษาเฉพาะกรณี การอำนวยความสะดวกผู้สูงอายุในการลงคะแนนเลือกตั้ง ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ี ผู้วิจัย ร้อยตำรวจเอก พงศ์บัณฑิต ปิ่นสุวรรณ หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี 66 ปัจจุบันเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของมนุษย์ เราเป็นอย่างมาก การวิจ ัยคร ั ้งนี ้ม ีว ัตถุประสงค์เพ ื ่อ ศึกษาและวิเคราะห์แนวทางการนำ ปัญญาประดิษฐ์ มาใช้กับการบริหารจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร การเลือกตั้งสมาชิกสภา ท้องถิ่นและผู ้บริหารท้องถิ่น และการออกเสียงประชามติ ในกลุ่มผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เป็นผู้สูงอายุ ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เป็นผู้สูงอายุ หรือผู ้ที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ ้นไป ในพื้นที ่จ ังหวัดกาญจนบุรี เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดย การวิเคราะห์เนื ้อหา (Content Analysis) เก ี ่ยวกับองค์ความรู ้การนำ ปัญญาประดิษฐ์มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเลือกตั้งและการอำนวยความสะดวกในการออกเสียง เลือกตั้งของผู้สูงอายุ และการวิเคราะห์เปรียบเทียบกับทฤษฎี (Theory Analysis) เกี่ยวกับจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ของการนำปัญญาประดิษฐ์มาประยุกต์ใช้ในการดำเนินการเกี่ยวกับ การจัดการเลือกตั้งและการอำนวยความสะดวกในการออกเสยีงเลือกตั้งของผูส้งูอายุ ผลการวิจัยครัง้นี้ พบว่า ๑) เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI ได้แผ่กระจายเข้าสู่ชุมชน ประชาชน อย่างเป็นรูปธรรม ๒) ในการนำปัญญาประดิษฐ์มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเลือกตั้งและการอำนวยความสะดวกในการ ออกเสียงเลือกตั้งของผู้สูงอายุ มีทั้ง จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค จากผลการวิจัย ผู้วิจัย มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายแก่สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั ้ง ในการประสานความร่วมมือ กับหน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ กรมการปกครอง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เพื่อเช่ือมข้อมูลบุคคลระบบ ตรวจสอบตัวบุคคลด้วยลายนิ ้วม ือ (Fingerprint Identification) เทคโนโลยีการจดจำใบหน้า (Face Recognition) และประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เป็นสถาบันการศึกษา เพื่อนำระบบ การลงคะแนนเลือกตั้งออนไลน์ (Online Election Voting System : Online E-Voting) มาใช้

abstract:

ข Abstract Title Artificial intelligence (AI) technology and Election Management: A Case Study Facilitating the Elderly in Voting Field Science and Technology Name Police Captain Pongbandit Pinsuwan Course NDC Class 66 Artificial intelligence (AI) technology has become a major part of our daily lives. This research aims to study and analyze the application of AI to the management of the House of Representatives elections, local government and local executive elections, and referendums among elderly voters.The qualitative research method was used. The target group of this research was elderly voters or those aged 60 and over in Kanchanaburi Province. Data was collected using interviews and analyzed using content analysis on knowledge of applying AI to election management and facilitating voting for the elderly. Comparative analysis was also conducted with theories on strengths, weaknesses, opportunities, and obstacles of applying AI to operations related to election management and facilitating voting for the elderly. The results of this research found that 1 ) Artificial intelligence (AI) technology has spread to communities and the public in a tangible way. 2 ) In applying AI to election management and facilitating voting for the elderly, there are both weaknesses, strengths, opportunities, and obstacles. From the research results, the researchers have policy recommendations for the Election Commission to collaborate with government agencies, including the Department of Provincial Administration and the Royal Thai Police. To connect personal data, fingerprint identification system (Fingerprint Identification), face recognition technology (Face Recognition) and collaborate with educational institutions to use the Online Election Voting System (Online E-Voting)