เรื่อง: การสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจของประเทศไทยจากกิจกรรมกีฬาเชิงท่องเที่ยว (Sports Tourism) กรณีศึกษากีฬากอล์ฟ มาราธอน และมอเตอร์สปอร์ต,(วปอ.10169)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง โปรดปราน สมานมิตร,(วปอ. 10169)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เร่ือง การสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจของประเทศไทยจากกิจกรรมกีฬาเชิงท่องเที่ยว
(Sports Tourism) กรณีศึกษากีฬากอล์ฟ มาราธอน และมอเตอร์สปอร์ต
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นางโปรดปราน สมานมิตร หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี 66
การวิ จัยครั้ งนี้ มีวั ตถุประสง ค์ เพื่อศึกษาระดับของสถานการณ์กิจกรรมกีฬา
เชิงท่องเท่ียว (Sports Tourism) กรณีศึกษากีฬากอล์ฟ มาราธอน และมอเตอร์สปอร์ต เพื่อวิเคราะห์
ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการสร้างรายได้และมูลค่าทางเศรษฐกิจจากกิจกรรมกีฬาเชิงท่องเท่ียว กรณีศึกษา
กีฬากอล์ฟ มาราธอน และมอเตอร์สปอร์ต และเพื่อเสนอแนวทางและแผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนา
กิจกรรมกีฬาเชิงท่องเท่ียว กรณีศึกษากีฬากอล์ฟ มาราธอน และมอเตอร์สปอร์ต ด าเนินการวิจัย
แบบผสานวิธี ประกอบด้วย การวิจัยเชิงปริมาณ ด้วยวิธีการเก็บแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างอย่างน้อย
400 คน โดยมีการกระจายไปยังผู้ท่ีเกี่ยวข้องในแวดวงของกีฬากอล์ฟ มาราธอน และมอเตอร์สปอร์ต
ในสัดส่วนท่ีใกล้เคียงกัน การวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ตัวแทน
ผู้บริหารของหน่วยงานภาครัฐท่ีเกี่ยวข้อง ตัวแทนผู้บริหารสมาคมกีฬากอล์ฟ มาราธอน และมอเตอร์
สปอร์ต และตัวแทนผู้ประกอบห่วงโซ่อุปทานของกิจกรรมกีฬาเชิงท่องเท่ียว แปรผลด้วยสถิติ ค่าเฉล่ีย
ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติ t-test วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (ANOVA) และทดสอบ
ความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ่ อย่างมีระดับนัยส าคัญทางสถิติ 0.05 โดยผลการศึกษาพบว่า
สถานการณ์กิจกรรมกีฬาเชิงท่องเท่ียว จากการส ารวจความคิดเห็นของกลุ่มห่วงโซ่อุปทาน
ของกิจกรรมกีฬาเชิงท่องเท่ียว พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นว่าสถานการณ์กิจกรรมกีฬา
เชิงท่องเท่ียว มีความพร้อมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านสถานท่ี เป็นด้านท่ี
กลุ่มตัวอย่างเห็นว่ามีความพร้อมมากท่ีสุด โดยเฉพาะในประเด็นประเทศไทยเป็นจุดหมายด้าน
การท่องเท่ียวท่ีมีความพร้อมในการจัดกิจกรรมกีฬาเชิงท่องเท่ียว ประเด็นประเทศไทยมีศักยภาพใน
การรองรับการจัดกิจกรรมกีฬาเชิงท่องเท่ียว และประเด็นผู้ประกอบด้านโรงแรมมีความพร้อมและ
ศักยภาพในการรองรับการจัดกิจกรรมกีฬาเชิงท่องเท่ียว และพบว่า ปัจจัยในการสร้างมูลค่าเพิ่ม
ในตลาดกิจกรรมกีฬาเชิงท่องเท่ียว (Sports Tourism) กรณีศึกษากีฬากอล์ฟ มาราธอน และมอเตอร์
สปอร์ต พบว่า จุดแข็ง (Strength) กีฬากอล์ฟเป็นกิจกรรมท่ีเอื้อประโยชน์ต่อการสร้างเครือข่าย
ทางธุรกิจและการสานสัมพันธ์ กีฬาวิ่งมาราธอนสามารถดึงดูดผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้จ านวนมาก
ท้ังนักกีฬาและผู้เข้าชม กีฬามอเตอร์สปอร์ตมีศักยภาพในการดึงดูดผู้สนับสนุนท้ังภาครัฐและ
ภาคเอกชน รวมถึงการโฆษณาสินค้าชนิดต่าง ๆ ได้อย่างมากมาย และมีฐานแฟนคลับท่ีแข็งแกร่งและ
เครือข่ายท่ีกว้างขวาง
ค าส าคัญ : การสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ/ กิจกรรมกีฬาเชิงท่องเท่ียว
abstract:
ข
ABSTRACT
Title THE ECONOMIC VALUE CREATION FOR THAILAND THROUGH
SPORTS TOURISM: A CASE STUDY OF GOLF, MARATHON, AND
MOTORSPORT
Field Economics
Name Mrs. Prodporn Samanmitr Course NDC Class 66
The purpose of this study is to study the current state of Sports Tourism
in Thailand, focusing on three specific sports: golf, marathon, and motorsport,
to analyze the key factors that influence the generation of revenue and economic value
from Sports Tourism activities in golf, marathon, and motorsport, and to propose
guidelines and strategic plans for the development of sports tourism, using golf,
marathon, and motorsport sports as case studies. The research employed a mixed-
methods approach, combining both quantitative research and qualitative research.
Quantitative data were gathered through questionnaires distributed to a minimum of
400 respondents evenly representing the golf, marathon, and motorsport industries.
Qualitative data were obtained through in-depth interviews with key stakeholders,
including relevant government officials, executives from golf, marathon, and motorsport
sports association, and individuals involved in the sports tourism supply chain.
The data were analyzed using statistical methods, including means, standard
deviations, t-tests, one-way ANOVA, and Scheffé's post-hoc tests, with a significance
level of 0.05. The result of the study reveals that the majority of respondents
expressed high levels of confidence in the current state of sports tourism readiness
according to the survey of sports tourism supply chain. Upon further examination,
venue-related factor is identified as the most well-prepared, with particular emphasis
on Thailand's suitability as a sports tourism destination, its capacity to host sports
tourism events, and the readiness and capabilities of hotels to accommodate
such events. The study identified key factors driving value creation in the sports
tourism market, focusing on golf, marathon, and motorsports. Golf's primary strength
lies in fostering business networking and relationships. Marathons excel at attracting
a significant number of participant, including both athletes and spectators. Motorsports
demonstrate strong potential for securing sponsorships from public and private sectors,
offering extensive advertising opportunities, and leveraging a dedicated fan base and
extensive network.
Keywords: Economic Value Creation / Sports Tourism