Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แผนการบริหารจัดการความมั่นคงด้านเศรษฐกิจของประเทศ กรณีรัฐบาลไม่สามารถหารายได้เพียงพอต่อรายจ่าย,(วปอ.10166)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ปิ่นสาย สุรัสวดี,(วปอ. 10166)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แผนการบริหารจัดการความมั่นคงด้านเศรษฐกิจของประเทศ กรณีไม่ สามารถหารายได้ได้เพียงพอต่อรายจ่าย ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย นายปิ่นสาย สุรัสวดี หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี 66 ในการบริหารราชการแผ่นดิน รัฐบาลจ าเป็นต้องใช้งบประมาณเป็นจ านวนมาก จึงจ าเป็นต้องมีการจัดหารายรับให้เพียงพอต่อรายจ่ายท่ีวางแผนไว้ โดยร้อยละ 80 ของรายรับ ของประเทศไทยมาจากรายได้ ท้ังรายได้ภาษีอากรและรายได้ท่ีไม่ใช่ภาษีอากร ดังนั้น หากเกิด สถานการณ์ท่ีส่งผลให้รัฐไม่สามารถจัดหารายได้ได้ตามเป้าหมายอย่างมีนัยส าคัญแล้ว รัฐก็อาจจะไม่มี งบประมาณท่ีเพียงพอเพื่อน าไปใช้จ่ายบริหารประเทศ งานวิจัยนี้จึงถูกจัดท าขึ้น เพื่อศึกษาการด าเนินการของรัฐบาล กรณีไม่สามารถจัดหา รายได้ได้เพียงพอต่องบประมาณรายจ่าย ภายใต้สถานการณ์ต่าง ๆ และวิเคราะห์ผลกระทบของ แนวทางข้างต้นต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ รวมถึงการบริหารจัดการวิกฤติการณ์ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจในต่างประเทศในสถานการณ์รายได้ไม่เพียงพอต่อรายจ่าย จนน าไปสู่ ข้อเสนอแนะแนวทางการด าเนินการของรัฐบาลในระยะต่อไป โดยก าหนดขอบเขตการศึกษาเฉพาะ ในด้านนโยบายการคลัง ในการท าการวิจัยผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลจากเอกสารและสัมภาษณ์ผู้บริหารหรือ ผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่าสถานการณ์ท่ีรัฐบาลไม่สามารถหารายได้ได้เพียงพอต่อรายจ่ายสามารถ แบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบ คือ แบบคาดการณ์ไว้ล่วงหน้าและแบบไม่สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้า ซึ่งเมื่อพิจารณาเครื่องมือในการด าเนินการจัดหาเงินรัฐขแองในท้ัง 2 สถานการณ์ แม้เกิดภาวะวิกฤติ ท่ีรายได้ไม่เพียงพอในระดับสูงมาก รัฐบาลยังคงมีเครื่องมือท่ีสามารถรองรับสถานการณ์ได้อย่างครอบคลุม ส่งผลให้การขาดรายได้ไม่กระทบต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศอย่างมีนัยส าคัญ แต่การเพิ่ม รายรับของรัฐบาลส่วนใหญ่เป็นในรูปแบบการก่อหนี้เพิ่มเติม ซึ่งจะส่งผลให้ระดับหนี้สาธารณะของ ประเทศสูงขึ้น แม้ว่าปัจจุบันในประเทศไทยจะมีหนี้สาธารณะในระดับท่ีไม่มีผลกระทบในทางลบต่อระบบ เศรษฐกิจในภาพรวม แต่เพื่อเพิ่มความเช่ือมั่นของนักลงทุนและเตรียมขีดความสามารถในการด าเนิน นโยบายทางการคลัง (Fiscal Space) รัฐบาลจ าต้องมีแผนเพื่อจัดหารายได้เพิ่มขึ้น ด้วยการให้ ความส าคัญกับการเพิ่มรายได้ผ่านการเพิ่มผลการจัดเก็บภาษี ประกอบกับในช่วง 10 ปีท่ีผ่านมาพบว่า รายได้ภาษีอากรต่อ GDP มีแนวโน้มลดลง ซึ่งอาจจะเป็นสัญญาณว่าประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษี ของรัฐบาลลดลง ดังนั้น รัฐบาลจึงควรเร่งการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษเีพื่อเพิ่มรายได้

abstract:

ข Abstract Title Strategies for Managing Economic Stability Against Insufficient Government Revenue Field Economics Name Mr. Pinsai Suraswadi Course NDC Class 66 In the administration of state affairs, the government requires a substantial budget and must secure sufficient revenue to meet planned expenditures. Approximately 80% of Thailand's revenue is derived from both tax and non-tax incomes. Consequently, if the government cannot secure the targeted income, it may lack an adequate budget for national administration. This research examines the government's actions when it cannot secure sufficient revenue under various scenarios. It analyzes the impact on economic stability and includes case studies of foreign countries managing revenue shortfalls. The research proposes recommendations for future government actions, specifically focusing on fiscal policy. Data were collected from documents and interviews with executives and experts from relevant agencies. The study found that revenue shortfalls can be divided into expected and unexpected scenarios. Even in severe revenue insufficiency, the government has comprehensive measures to address the situation, ensuring that revenue shortfalls do not significantly impact economic stability. However, most efforts to increase revenue involve additional borrowing, which raises public debt levels. Although current public debt in Thailand does not negatively affect the overall economy, the government must plan to increase revenue to enhance investor confidence and prepare fiscal space for policy implementation. This should be achieved by improving tax collection efficiency. Over the past decade, the tax revenue-to-GDP ratio has declined, indicating reduced tax collection efficiency. Therefore, the government should urgently enhance tax collection efficiency to increase revenue.