เรื่อง: แนวทางในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของผู้ต้องหาหรือจำเลยในการขอปล่อยชั่วคราวในคดีอาญา,(วปอ.10161)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ประเสริฐศักดิ์ ณรงค์รักเดช,(วปอ. 10161)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคดัย่อ
เร่ือง แนวทางในการคุม้ครองสิทธิเสรีภาพของผูต้อ้งหาหรือจ าเลยในการขอ
ปล่อยชัว่คราวคดีอาญา
ลกัษณะวชิา สังคมจิตวิทยา
ผู้วจิยั นายประเสริฐศกัด์ิ ณรงครั์กเดช หลกัสูตร วปอ. รุ่นที ่66
การปล่อยชั่วคราวเป็นมาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ
ผูต้อ้งหาหรือจ าเลยในระหวา่งถูกด าเนินคดีเป็นการผ่อนปรนให้ผูต้อ้งหาหรือจ าเลยไดรั้บอิสรภาพ
ชั่วคราวจนกว่าจะมีการพิสูจน์ความผิด หากมีการควบคุมผูต้อ้งหาหรือจ าเลยไวใ้นระหว่างถูก
ด าเนินคดีเสมือนเป็นการลงโทษไวล่้วงหนา้ เวน้แต่มีเหตุจ าเป็นตามที่กฎหมายบญัญติัไว ้ ปัจจุบนัมี
ผูต้อ้งหาหรือจ าเลยจ านวนมากถูกควบคุมหรือขงัในระหว่างการด าเนินคดีและไม่ไดรั้บอนุญาตให้
ปล่อยชัว่คราวอนัเป็นการจ ากดัสิทธิเสรีภาพของผูต้อ้งหาหรือจ าเลยอาจก่อให้เกิดความเสียหายที่
ตามมาหลายประการ โดยงานวิจยัน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาหลกัเกณฑท์างกฎหมาย ปัญหาและ
อุปสรรคเก่ียวกับการปล่อยชั่วคราว รวมทั้งเสนอหลักเกณฑ์และแนวทางที่เหมาะสมในการ
คุม้ครองสิทธิเสรีภาพของผูต้อ้งหาหรือจ าเลยในระหว่างถูกด าเนินคดี ผลการวิจยัพบว่าการใช้
ดุลพินิจของเจา้พนักงานหรือศาลในการปล่อยชัว่คราวตอ้งมีหลกัประกนัเป็นส่วนใหญ่ ผูต้อ้งหา
หรือจ าเลยมีพฤติการณ์หลบหนีหรือไม่ อตัราโทษเก่ียวกบัขอ้หาหรือฐานความผิด พฤติการณ์ใน
การกระท าความผิด และความเสียหายมากน้อยเพียงใด ท าให้ตอ้งมีการพฒันาระบบการปล่อย
ชัว่คราวให้มีประสิทธิภาพมากยิง่ขึ้นเพื่อเป็นการคุม้ครองสิทธิเสรีภาพของผูต้อ้งหาหรือจ าเลยใน
ระหว่างถูกด าเนินคดีอยา่งแทจ้ริงเป็นไปตามเจตนารมยข์องกฎหมายรัฐธรรมนูญที่สันนิษฐานไว้
ก่อนว่าผูต้อ้งหาหรือจ าเลยเป็นผูบ้ริสุทธ์ิจนกว่าศาลจะพิพากษาถึงที่สุดว่ามีความผิดจริงจึงปฏิบติั
เสมือนผูก้ระท าความผดิไม่ได ้
abstract:
ข
Abstract
Title Guidelines for protecting the rights and freedoms of the accused
or defendant in requesting temporary release in a criminal case
Field Social-Psychology
Name Mr. Prasertsak Narongrakdej Course NDC Class 66
Temporary release is a legal measure to protect the right and freedom of the accused
or defendant while being prosecuted. It allows the accused or defendant to be temporarily free
until the guilt is proven. If the accused or defendant is detained while being prosecuted, it is as if
it were a pre-emptive punishment, unless there is a necessary reason as provided by law.
Currently, there are many suspects or defendants who are detains or imprisoned during legal
proceedings and are not allowed to be temporarily released, which limits the rights and freedoms
of the accused or defendants, which may cause many consequences. The objective of this research
is to study the legal criteria, problems and obstacles regarding temporary release, as well as
propose appropriate criteria and guidelines for protecting the rights and freedoms of the accused
or defendant during prosecution. The results of the research found that the discretion of the
official or the court in granting temporary release must be accompanied by security, the suspect or
defendant has the ability to flee or not, the penalty rate is related to the charge or offense, the
circumstances of the offense and the extent of the damage require the development of a more
efficient temporary release system in order to truly protect the rights and freedoms of the accused
or defendant during prosecution in accordance with the spirit of constitutional law that the
accused or defendant is innocent until the court renders a final judgment that he is indeed guilty
and therefor cannot be treated as an offender.