เรื่อง: แนวทางการพัฒนาการสื่อสารและเสริมสร้างภาพลักษณ์ขององค์กรภาครัฐ เพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางสังคมและการเมืองของประเทศไทย,(วปอ.10153)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปนัดดา รักษาแก้ว,(วปอ. 10153)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการพัฒนาการส่ือสารและเสริมสร้างภาพลักษณ์ขององค์กรภาครัฐ
เพื่อลดปัญหาความขัดแย้งทางสังคมและการเมืองของประเทศไทย
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย ผศ.ดร. ปนัดดา รักษาแก้ว หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี 66
จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการส่ือสารท าให้ในปัจจุบันอานุภาพของการส่ือสาร
มีอิทธิพลเป็นอย่างมาก สามารถเปล่ียนแปลงและครอบง าความคิดของมนุษย์ หากน ามาใช้ในทาง
สร้างสรรค์ก็จะเกิดประโยชน์ต่อสังคม หากน ามาใช้เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ของพวกพ้องและ
ตนเองอาจน ามาซึ่งความแตกแยกในสังคมได้เช่นเดียวกัน ดังนั้นหน่วยงานภาครัฐจึงควรมีการเตรียม
ความพร้อมรองรับในประเด็นดังกล่าว โดยพัฒนาการส่ือสารและเสริมสร้างภาพลักษณ์ขององค์กร
เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการลดปัญหาความขัดแย้งทางสังคมและการเมือง อันจะเป็นการเสริมสร้าง
ความมั่นคงแห่งชาติอีกทางหนึ่ง
ผลการศึกษาพบว่าแนวทางการพัฒนาการส่ือสารและเสริมสร้างภาพลักษณ์
ขององค์กรภาครัฐ เพื่อลดปัญหาความขัดแย้งทางสังคมและการเมืองของประเทศไทย ประกอบด้วย
1. การปฏิรูปส่ือของหน่วยงานภาครัฐ ให้น่าสนใจตอบโจทย์ความต้องการของผู้รับสารในปัจจุบัน
โดยเฉพาะการพัฒนาคอนเทนต์ด้านการลดปัญหาความขัดแย้งทางสังคมและการเมือง 2. การสร้าง
ความร่วมมือกับภาคเอกชน และผู้มีอิทธิพลในโลกออนไลน์ โดยใช้กระแสของกลุ่มดังกล่าว
ในการส่ือสารชี้น าสังคม 3. การพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้มีทักษะและคุณลักษณะท่ีจ าเป็นต่องานด้าน
การประชาสัมพันธ์สมัยใหม่ 4. การสร้างระบบติดตามเรื่องร้องเรียนและข้อคิดเห็นของประชาชน
ท่ีใช้ติดตามสถานะของทุกเรื่องร้องเรียน ทุกความคิดเห็น และทุกกระบวนงานของภาครัฐท่ีให้บริการ
ประชาชน 5. การประชุมกรรมาธิการของรัฐสภา ควรมีการถ่ายทอดสดผ่านช่องทางออนไลน์
โดยเฉพาะในเรื่องท่ีเป็นประเด็นท่ีได้รับความสนใจในสังคม 6. การส่งเสริมการศึกษาวิจัยในประเด็น
พัฒนาการของสังคมไทย แนวโน้มปัญหาความขัดแย้งของสังคมในอนาคต และใช้ผลการวิจัย
เป็นแนวทางในการก าหนดกลยุทธ์และออกแบบการส่ือสารของหน่วยงาน 7. การพิจารณาจัดสรร
งบประมาณเป็นกรณีพิเศษ ให้กับโครงการใหม่ของหน่วยงานภาครัฐท่ีน าเอาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ใน
การเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน การสร้างภูมิคุ้มกันทางความคิด ตลอดจนการสร้าง
พื้นฐานทางดิจิทัลท่ีเข้มแข็งให้กับประชาชน และ 8. การสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีกับส่ือมวลชน
อย่างต่อเนื่อง เพื่อสนับสนุนการด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
abstract:
ข
Abstract
Title Guidelines for Improving Communication Methods and Boosting
Image of Governmental Agencies to Reduce Thailand’s Social and
Political Conflicts
Field Science and technology
Name Asst.Prof. Panadda Raksakaeo Course NDC Class 66
Advance communication technology results in increasing influence and
power of communication, which can change and dominate our mind. When used
wisely, it could benefit the society greatly. But if implemented for the benefit of
certain group or individual, it could divide the society. Governmental agencies, therefore,
need to prepare by improving communication methods and boosting the agencies’
image as part of the solutions to reduce social and political conflicts. If carried out
efficiently, this will be another means of strengthening national security.
The study shows that the guidelines for improving communication
methods and boosting image of governmental agencies to reduce Thailand’s social
and political conflicts consist of 1. Reforming official agencies’ media in correspondence
with the needs of current audience, especially production of content that reduces
social and political conflicts. 2. Forming cooperation with private sector and influencers
on social media as their influence can communicate and lead the society. 3. Equipping
governmental staff with necessary skills and qualities for modern public relations
schemes. 4. Implementing channel or system to follow up complaints made by the
public which will provide update on every complaint, opinion, and governmental service
at all stages. 5.Broadcasting meetings of the Parliament’s Commissions, especially
on the topics that are in the public’s interests. 6. Promoting research on the Thai
society’s progress, and trend of social conflicts in the future with the goal to turn
those research’s findings into the agencies’ strategies and communication
techniques. 7. Considering specific allocation to governmental agencies’ new projects
that apply digital technology to boost the public’s participation, create mindset
awareness, and strengthen the public’s digital foundation, and 8. Building and
maintaining good relations with the media to promote governmental agencies’
performance.