เรื่อง: แนวทางการพัฒนากำลังรบทางอากาศของกองทัพอากาศในทศวรรษหน้า (พ.ศ.๒๕๗๐-๒๕๘๐),(วปอ.10143)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลอากาศตรี นิทัศน์ ยูประพัฒน์,(วปอ. 10143)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการพัฒนาก าลังรบทางอากาศของกองทัพอากาศในทศวรรษหน้า
(พ.ศ.๒๕๗๐ - ๒๕๘๐)
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พลอากาศตรี นิทัศน์ ยูประพัฒน์ หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี ๖๖
การวิจัยนี้เป็นการท าวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) ในรูปแบบของการวิจัย
เอกสาร (Documentary research) ร่วมกับการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) โดยในด้านหนึ่ง
มุง่ศึกษาสภาพความเป็นจริงของก าลังทางอากาศสมัยใหม่ท่ีส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางทหารของไทย
และศึกษาก าลังอ านาจทางทหารของไทยท่ีใช้รับมือก าลังทางอากาศสมัยใหม่นั้น อันจะน าไปสู่การระบุ
ขีดความสามารถและระบบอาวุธของก าลังรบทางอากาศท่ีจ าเป็นต้องเสริมสร้างของกองทัพอากาศ ในอีก
ด้านหนึ่งได้มุ่งศึกษานโยบายและแนวคิดเกี่ยวกับการป้องกันประเทศเพื่อใช้เสริมสร้างขีดความสามารถของ
ก าลังรบทางอากาศของไทยและต่างประเทศ เพื่อใช้ในการระบุหลักการส าคัญท่ีสามารถกระท าได้เพื่อ
เสริมสร้างขีดความสามารถของก าลังรบทางอากาศของกองทัพอากาศ อันจะน าไปสู่การสังเคราะห์และ
น าเสนอเป็นแนวทางการพัฒนาก าลังรบทางอากาศของกองทัพอากาศในทศวรรษหน้า (พ.ศ.๒๕๗๐ -
๒๕๘๐) ขอบเขตของการวิจัยนี้จะเป็นการศึกษาก าลังรบของก าลังทางอากาศสมัยใหม่ (อาวุธยุทโธปกรณ์)
ในมิติทางอากาศ (Air domain) ท่ีมาจากฐานปฏิบัติการบนพื้นดิน ในทะเล และในอากาศ การศึกษาการใช้
ก าลังทางอากาศสมัยใหม่ในเหตุการณ์ความขัดแย้งกันด้วยอาวุธ และคาดว่าจะยังมีการใช้งานต่อไปไม่น้อย
กว่าปี พ.ศ.๒๕๘๐ ร่วมกับการสัมภาษณ์นายทหารของกองทัพอากาศท้ังท่ีเคยด ารงต าแหน่งในอดีตและ
ก าลังด ารงต าแหน่งอยู่ในปัจจุบัน ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเตรียมและการใช้ก าลังของกองทัพอากาศ
ผลท่ีได้รับจากวิจัยนี้ ได้ช้ีให้เห็นถึงส่ิงส าคัญต่อการพัฒนาก าลังรบทางอากาศ ๓ ประการ
ประการแรก คือการพัฒนาองค์ความรู้ในเรื่องของอันตรายทางทหารและภัยคุกคามทางทหาร ก าลังทางอากาศ
สมัยใหม่ และหลักการวางแผนทางทหารแบบอิงตามขีดความสามารถท่ีค านึงถึงภัยคุกคาม ประการท่ีสอง
คือการพัฒนาก าลังรบ โดยได้มีการน าเสนอระบบอาวุธที่เหมาะสมพร้อมแนวทางการใช้งานในกรอบของ
หลักนิยมการใช้ก าลังทางอากาศของกองทัพอากาศ อีกท้ังได้ช้ีให้เห็นถึงประโยชน์ท่ีจะได้รับจากการใช้งาน
ระบบอาวุธสมัยใหม่นี้ร่วมกับเครื่องบินรบต่าง ๆ ของกองทัพอากาศ และประการสุดท้าย คือการพัฒนา
ศักย์สงคราม ในท่ีนี้จะเน้นใหก้องทัพอากาศด าเนินการจัดหาระบบอาวุธควบคู่ไปกับการวิจัยและพัฒนา ซึ่ง
ปัจจุบันนี้ ช่องว่างทางเทคโนโลยีท่ีน้อยลงในการพัฒนาระบบอาวุธของก าลังทางอากาศสมัยใหม่ อาทิ
โดรนต่าง ๆ เป็นโอกาสท่ีอุตสาหกรรมป้องกันประเทศจะพัฒนาไปสู่การพึ่งพาตนเองได้
จากผลการวิจัย มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ได้แก่ การลดระดับศักยภาพของภัยคุกคามทาง
ทหารด้วยวิธีการต่าง ๆ ท่ีไม่ใช่การท าสงคราม และการจัดหาควบคู่กับการวิจัยและพัฒนา (P/R&D)
เป็นส่ิงท่ีจะก่อให้เกิดการพึ่งพาตนเองได้ในระยะยาวส าหรับ ทอ. เชิงปฏิบัติการ ได้แก่ การเพิ่มพูน
องค์ความรู้ที่ทันสมัยอย่างถูกต้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึงการให้ความส าคัญกับองค์ความรู้
กระแสรอง นอกจากนี้การท าวิจัยในครั้งต่อไป ควรศึกษาเพิ่มเติมในมิติอื่น ๆ อาทิ มิติไซเบอร์ และมิติ
อวกาศ ท่ีสนับสนุนการใช้ก าลังทางอากาศ
abstract:
ข
Abstract
Title The Development of the Royal Thai Air Force's Air Combat
Power in the Next Decade (2027 - 2037)
Field Military
Name Air Vice Marshal Nitat Yupraphat Course NDC Class 66
This qualitative research, using documentary research and in-depth interviews, has
three primary objectives. The first is to examine the current state of modern air power that affects
Thailand's military security and Thailand's military power used to counter this modern air power.
This analysis will identify essential capabilities and weapon systems that the Royal Thai Air Force
(RTAF) needs to strengthen. Secondly, the study will explore national defense policies and concepts
employed by Thailand and other countries to strengthen air combat capabilities. This exploration
aims to identify actionable principles for enhancing the RTAF's air power. Ultimately, the research
seeks to synthesize these findings into actionable guidelines for the development of the RTAF's air
combat power over the next decade (2027 - 2037). The research scope encompasses the study of
modern air power capabilities (focusing on armaments and equipment) within the air domain,
including land, sea, and airborne platforms. The analysis will consider the potential use of modern
air power in potential armed conflicts with a projected relevance extending beyond 2037. To
achieve these goals, the study will incorporate interviews with past and present RTAF officers
directly involved in force preparation and deployment.
The study identified three key areas for strengthening the RTAF's air combat
capabilities. First, it emphasized the critical role of knowledge development, encompassing an
understanding of military threats, modern air power, and threat-informed capability-based planning.
Second, it focused on developing air combat capabilities by proposing suitable weapon systems
and guidelines for their integration within the RTAF's air power doctrine. The research also
highlighted the advantages of integrating these systems with existing aircraft. Finally, the research
stressed the need for the RTAF to pursue both purchasing of weapon systems and investment in
research and development (P/R&D). The narrowing technological gap in developing modern air
power systems, like drones, creates an opportunity for Thailand's defense industry to become self-
sufficient.
The research suggests policy recommendations focused on mitigating potential
military threats through non-military means and investing in Procurement alongside Research and
Development (P/R&D). This integrated strategy fosters long-term self-sufficiency for the RTAF,
enabling it to independently address future security challenges. Practical recommendation includes
continuously expanding the existing knowledge base in this domain, while emphasizing the value of
secondary sources. Additionally, future research should prioritize exploring new dimensions, such as
cyber and space capabilities, that complement air power utilization.