Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพเทคโนโลยีเพื่อการควบคุมทางศุลกากรสำหรับการขนส่งสินค้าทางเรือ,(วปอ.10140)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง นันท์ฐิตา ศิริคุปต์,(วปอ. 10140)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เร่ือง แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพเทคโนโลยีเพื ่อการควบคุมทางศุลกากร สำหรับการขนส่งสินค้าทางเรือ ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้วิจัย นางนันท์ฐิตา ศิริคุปต์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที ่66 การวิจัย เรื่อง แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพเทคโนโลยีเพื่อการควบคุมทางศุลกากร สำหรับการขนส่งสินค้าทางเรือ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาข้อมูลเทคโนโลยีเพื่อการควบคุมทาง ศุลกากรสำหรับการขนส่งสินค้าทางเรือของกรมศุลกากรในปัจจุบัน รวมถึงปัญหาและข้อจำกัดต่าง ๆ (2) เพื่อวิเคราะห์และเปรียบเทียบกับเทคโนโลยีเพื่อการควบคุมทางศุลกากรสำหรับการขนส่งสินค้า ทางเรือ ตามแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศขององค์การศุลกากรโลกและองค์การการค้าโลก รวมถึงต่างประเทศ และ (3) เพื่อเสนอแนวทางการนำเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการควบคุมทางศุลกากรเพื่อปกป้องสังคม โดยการจัดทำภูมิทัศน์การควบคุมทางศุลกากรสำหรับการขนส่งสินค้าทางเรือของกรมศุลกากร พร้อม แนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีแต่ละประเภทเพื่อการควบคุมทางศุลกากรสำหรับการขนส่งสินค้าทางเรือ ผ่านการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องซึ่งเผยแพร่โดยองค์การศุลกากรโลก และจากข้อมูลของกรมศุลกากร ควบคู่ไปกับการจัดทำแบบสอบถามความต้องการและความคิดเห็น ของเจ้าหน้าที่ศุลกากรซึ่งปฏิบัติงานด้านการควบคุมทางศุลกากร จำนวน 30 ราย ในเรื่องเทคโนโลยี เพื่อการควบคุมทางศุลกากรสำหรับการขนส่งสินค้าทางเรือของกรมศุลกากร เพื่อรวบรวมข้อคิดเห็น รวมถึงข้อเสนอแนะจากเจ้าหน้าที่ศุลกากรผู้ปฏิบัติงานจริง สำหรับการเสนอแนวทางการนำเทคโนโลยี ต่าง ๆ มาปรับใช้กับบริบทของประเทศไทย ผลการวิจัย พบว่า เทคโนโลยีเพื่อการควบคุมทางศุลกากรสำหรับการขนส่งสินค้าทางเรือ ของไทยบางประเภทยังไม่ทันสมัยหรือยังไม่เป็นระบบดิจิทัลเต็มรูปแบบ หรือยังไม่มีการเชื่อมโยง บูรณาการกับหน่วยงานอื่น ๆ อย่างครอบคลุม นอกจากนี้ ยังมีข้อจำกัดด้านองค์ความรู้ของบุคลากร ด้านการใช้เทคโนโลยีขั้นสูงหรือเทคโนโลยีที่มีความซับซ้อน จึงไม่สามารถใช้เทคโนโลยีเพ่ือการควบคุม ทางศุลกากรที่มีอยู่ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ซ่ึงผู้บริหารกรมศุลกากรควรให้ความสำคัญในการกำหนด นโยบายและดำเนินงานเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการควบคุมทางศุลกากรสำหรับการขนส่งสินค้า ทางเรือของกรมศุลกากรให้ชัดเจน เป็นรูปธรรม นำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในทุกกระบวนงาน ศุลกากร มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อการดำเนินงานที่เกี่ยวข้อง และให้ความสำคัญกับการพัฒนา บุคลากร โดยผู้วิจัยได้จัดทำภูมิทัศน์การควบคุมทางศุลกากรสำหรับการขนส่งสินค้าทางเรือของ กรมศุลกากร และแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีแต่ละประเภท เพื่อเป็นข้อเสนอแนะในการเพ่ิม ประสิทธิภาพเทคโนโลยีเพ่ือการควบคุมทางศุลกากรสำหรับการขนส่งสินค้าทางเรือของกรมศุลกากร ข Abstract Title Guidelines for Enhancing the Efficiency of Customs Control Technology in Sea Freight Field Science and Technology Name Mrs. Nunthita Sirikup Course NDC Class 66 This research, "Guidelines for Enhancing the Efficiency of Customs Control Technology in Sea Freight," aims to (1) study the current customs control technology adopted by the Thai Customs Department for sea freight, including its problems and limitations, (2) analyze and compare this technology with the best practices recommended by the World Customs Organization and the World Trade Organization, as well as other countries, and (3) propose guidelines for the application of technology in customs control to protect society by developing a customs control landscape for sea freight, along with guidelines for developing each type of technology in customs control for sea freight. The study involves reviewing relevant literature published by the World Customs Organization and data from the Thai Customs Department, along with conducting a survey of 30 customs officers who work in customs control to gather their needs and opinions aiming to collect feedback and recommendations from customs officers for proposing the implementation of various technologies in the context of Thailand. The research findings indicate that some types of customs control technology for sea freight in Thailand are outdated, not fully digital, or not comprehensively integrated with other agencies. Additionally, there are limitations in the knowledge of personnel in using advanced or complex technologies, preventing the full utilization of existing customs control technology. Therefore, it is essential for the Thai Customs Department's management to prioritize the development and implementation of clear policies for enhancing customs control technology in sea freight. This includes adopting artificial intelligence in all customs processes, allocating budgets for related operations, and focusing on personnel development. The researcher has proposed a customs control landscape for sea freight and development guidelines for each type of technology as recommendations for improving the efficiency of customs control technology in sea freight for the Thai Customs Department.

abstract:

ข Abstract Title Guidelines for Enhancing the Efficiency of Customs Control Technology in Sea Freight Field Science and Technology Name Mrs. Nunthita Sirikup Course NDC Class 66 This research, "Guidelines for Enhancing the Efficiency of Customs Control Technology in Sea Freight," aims to (1) study the current customs control technology adopted by the Thai Customs Department for sea freight, including its problems and limitations, (2) analyze and compare this technology with the best practices recommended by the World Customs Organization and the World Trade Organization, as well as other countries, and (3) propose guidelines for the application of technology in customs control to protect society by developing a customs control landscape for sea freight, along with guidelines for developing each type of technology in customs control for sea freight. The study involves reviewing relevant literature published by the World Customs Organization and data from the Thai Customs Department, along with conducting a survey of 30 customs officers who work in customs control to gather their needs and opinions aiming to collect feedback and recommendations from customs officers for proposing the implementation of various technologies in the context of Thailand. The research findings indicate that some types of customs control technology for sea freight in Thailand are outdated, not fully digital, or not comprehensively integrated with other agencies. Additionally, there are limitations in the knowledge of personnel in using advanced or complex technologies, preventing the full utilization of existing customs control technology. Therefore, it is essential for the Thai Customs Department's management to prioritize the development and implementation of clear policies for enhancing customs control technology in sea freight. This includes adopting artificial intelligence in all customs processes, allocating budgets for related operations, and focusing on personnel development. The researcher has proposed a customs control landscape for sea freight and development guidelines for each type of technology as recommendations for improving the efficiency of customs control technology in sea freight for the Thai Customs Department.