เรื่อง: การพัฒนาความสามารถในการแข่งขันภาคเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม,(วปอ.10135)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย นราพัฒน์ แก้วทอง,(วปอ. 10135)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เร่ือง การพัฒนาความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและ
นวัตกรรม
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายนราพัฒน์ แก้วทอง หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๖
เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการเกษตรและภาค
การผลิตแบบดั้งเดิมถูกแทนที่ด้วยภาคบริการ เศรษฐกิจจึงเติบโตขึ้นอย่างก้าวกระโดด ประกอบกับ
การที่เทคโนโลยีและนวัตกรรมถูกพัฒนาขึ้น ทำให้เครื่องจักรและระบบการทำงานแบบอัตโนมัติ
ซึ่งนอกจากจะสามารถทำงานแทนคนได้แล้ว ยังมีความแม่นยำและประสิทธิภาพสูงกว่า ความจำเป็น
ในการใช้แรงงานคนในระบบการเกษตร และภาคการผลิตแบบดั้งเดิมจึงลดน้อยลง ดังนั้นนโยบาย
ทางการเกษตรเพ่ือส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันจึงจำเป็นต้องปรับโครงสร้างใหม่ โดยนำ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเกษตรมาใช้เป็นกลไกของการพัฒนาเศรษฐกิจ เพราะเล็งเห็นว่า
การใช้เทคโนโลยีจะมีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาชนบทและลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม โดยมาใช้
พัฒนาศักยภาพเกษตรกรและผู้ประกอบการ รวมถึงคนรุ่นใหม่ให้เป็นผู้ประกอบการธุรกิจการเกษตร
มืออาชีพ หรือจากเกษตรกร (Farmer) สู่การเป็นเกษตรกรอัจฉริยะ (Smart Farmer) และเกษตรกร
รุ่นใหม่ (Young Smart Farmer) ทั้งนี้ภาครัฐจะต้องดำเนินการส่งเสริมการนำเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมด้านการเกษตรไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาและเสริมสร้างความพร้อมให้เกษตรกร และเพ่ิม
ขีดความสามารถในการแข่งขันให้ธุรกิจของเกษตรกรชาวไทยเติบโตได้อย่างยั่งยืน
abstract:
ข
Abstracts
Title Development of Competitiveness in the Agricultural Sector through
Technology and Innovation
Field Economics
Name Mr. Narapat Kaeothong Course NDC Class 66
According to changes in the economic system, in particular, the
traditional agriculture and manufacturing sectors have been replaced by services
such as finance with higher economic value. The economy has grown by leaps and
bounds, combined with the development of new technologies. These machines and
automation systems are made, which they are being able to work for people, they
also have higher accuracy and efficiency. The need for use workers in the agricultural
system and thus the traditional manufacturing sector is dwindling. The global
financial crisis in recent years has revealed some weaknesses of the industrial way in
the main cities that is no longer a sustainable way. Therefore, agricultural policy for
the public benefit needs to restructure by bringing innovation in agriculture to be
used as a mechanism for economic development because it is seen that the use of
technology will play an important role in rural development and reduce social
inequality. The development of science, technology and engineering is an important
tool to help transform agriculture and become a sustainable industry