เรื่อง: การบูรณาการความร่วมมือการบริหารจัดการน้ำเขื่อนบางลางอย่างยั่งยืน,(วปอ.10132)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ธีรุตม์ ศุภวิบูลย์ผล,(วปอ. 10132)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การบูรณาการความร่วมมือการบริหารจัดการน้้าเขื่อนบางลางอย่างยั่งยืน
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย นายธีรุตม์ ศุภวิบูลย์ผล หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๖
กรณีอุทกภัยในพื้นท่ีลุ่มน้้าปัตตานี ปี พ.ศ.2564 ท้าให้ผู้วิจัยมีวัตถุประสงค์ท่ีจะศึกษา
การบูรณาการความร่วมมือเพื่อบริหารจัดการน้้าของเข่ือนบางลาง จังหวัดยะลา เพื่อใช้ในการวางแผน
แนวทางการบริหารจัดการน้้าของเขื่อนบางลางและเขื่อนท่ีส้าคัญในประเทศไทย ลดผลกระทบ จากความเส่ียง
ในการเกิดอุทกภัยในช่วงท้ายของฤดูฝนและการกักเก็บน้้าให้มีปริมาณเพียงพอส้าหรับ ฤดูแล้ง
โดยเฉพาะเหตุการณ์อุทกภัยในพื้นท่ีลุ่มน้้าภาคใต้ฝ่ังตะวันออกตอนล่างท่ีเกิดขึ้นอยู่บ่ อยครั้ง อันมี
สาเหตุมาจากการระบายน้้าของเข่ือนบางลาง ท่ีพร่องน้้าในเข่ือนไว้รองรับปริมาณน้้าหลากไม่เพียงพอ
ประกอบกับร่องมรสุมพัดผ่าน ท้าให้ปริมาณน้้าฝนตกลงมาเป็นจ้านวนมากและปัจจัยเงื่อนไขของการ
ระบายน้้าเขื่อนบางลาง แม้มีการระบายน้้าผ่านช่องทางต่าง ๆ ท้ังอาคารระบายน้้า ล้น Spillway)
ทางระบายน้้าลงล้าน้้าเดิม River outlet) และอาคารระบายน้้าท่ีผ่านเครื่องก้าเนิดไฟฟ้า Turbine)
โดยมีอัตราการระบายท่ีแตกต่างกัน ถึงแม้ว่าการระบายน้้าล้นของเขื่อนบางลางจะสามารถระบาย
ออกได้อย่างรวดเร็วเพื่อป้องกันโครงสร้างหลักของเข่ือนไม่ให้ได้รับอันตราย แต่ข้อจ้ากัดคือพื้นท่ีท้าย
เข่ือนไม่สามารถรองรับน้้าไว้ได้ และท้าให้เกิดน้้าท่วมซ้้าซ้อนในท่ีสุด
การวิจัยนี้มีแนวทางเพื่อพัฒนาศักยภาพของการบริหารการจัดการน้้าในเขื่อนบางลาง
ท้ังการเก็บกักและการระบายน้้าท่ีเหมาะสมสอดคล้องกับบริบทของพื้นท่ี ส่ิงท่ีส้าคัญท่ีสุด คือ บูรณาการ
ความร่วมมือหน่วยงานในพื้นท่ีเพื่อบริหารจัดการน้้าในเขื่อนอย่างยั่งยืน เพื่อลดความเส่ียงในการเกิด
อุทกภัยในพื้นท่ีจังหวัดยะลา และปัตตานีท่ีมีสาเหตุหลักจากการระบายน้้าของเขื่อนบางลางท่ียังไม่มี
ประสิทธิภาพเพียงพอ
ไม่สามารถสร้างความเช่ือมั่นให้แก่ประชาชนในพื้นท่ีได้ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ของการศึกษาในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ท้าการค้นคว้า ข้อมูลเกี่ยวกับหลักการ แนวคิดทฤษฎี และผลงานวิจัย
ท่ีเกี่ยวข้องเกี่ยวกับการบูรณาการความร่วมมือในการบริหารจัดการน้้า แล้วน้าข้อมูลท่ีได้มาท้าการ
วิเคราะห์ประมวลผล และสรุปผลการศึกษา พบว่า การบูรณาการร่วมกันของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
จ้าเป็นท่ีจะต้องมีหน่วยงานและคณะกรรมการกลางเข้ามาเพื่อท่ีจะประสานความร่วมมือให้บรรลุ
วัตถุประสงค์เดียวกัน มีมาตรการ กลไกและระบบการตัดสินใจท่ีชัดเจน มีข้ันตอนการบริหารจัดการท่ี
มีมาตรฐานสามารถด้าเนินการได้ในทุกสถานการณ์ ประกอบกับการใช้เทคโนโลยีท่ีมีความแม่นย้าใน
การคาดการณ์และประเมินสถานการณ์ ให้เป็น Single Source of Truth (SSOT) และมีการจัดท้า
คู่มือปฏิบัติงาน Standard Operation Procedure (SOP)
เพื่อให้ง่ายต่อการตัดสินใจในการด้าเนินการในแต่ละครั้ง อีกท้ังยังศึกษาในแนวคิดและ
ทฤษฎีของการบริหารจัดการทรัพยากรน้้าอย่างยั่งยืน เพื่อปรับปรุงแนวทางการท้างานของคณะกรรมการ
ลุ่มน้้าภาคใต้ตะวันออกตอนล่าง และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การท้างานของ “คณะท้างานบริหารจัดการน้้า
เขื่อนบางลาง” ภายใต้กรอบการบูรณาการของคณะกรรมการลุ่มน้้าภาคใต้ตะวันออกตอนล่าง จะเป็น
Best Practice เพื่อใช้เป็นแนวทางแก่คณะกรรมการลุ่มน้้าฯ ในอีก 21 ลุ่มน้้าท่ัวประเทศ
abstract:
ข
Abstract
Title Integrative Water Administration Model for Sustainability Case
Study Banglang Dam.
Field Science and Technology
Name Mr.Teeruth Supawiboonpol Course NDC Class 66
In 2021 , In the area of The Watersheds of Lower East of Southern Region
was flooded by water disasters caused by climate change and man-made, which
affected to human life economy system. As a researcher has purposed for Re - Operate
Balang Dam System in the point of water management. We want to developed the
method of water administration by integrate the operation of government sectors in
Yala Pattani and Narathiwat provinces for reduce the damage of flood and drought
disaster.
We want to developed the system of Water Management for every dam in
Thailand, can manage the water system in the proper way to prepare for confront
water disasters caused by global warming, El Niño and La Niña are climate patterns in
the Pacific Ocean that can affect weather worldwide. The severity level might be
calculated from the relationship between supply and demand. As a researcher,
we try to research the theories and analyze the information to developed
the system for Water Management and apply to operate the structure of Water
Resource Management Commission. We try to use technology and Artificial Intelligence
to predict the result and analyze all the information to conclude and solution. We use
the method “Single Source of Truth” (SSOT) to the practice of aggregating the data
from many systems within an organization to a single location. We try to create
Standard Operation Procedure (SOP) to be a manual for water management by use in
the way of procedure specific to operation that describes the activities necessary to
complete tasks, in regular and crisis situation.
We hopefully this research can be the best practice for development and
management the water resources is one of the main factors for the national security
since adequate water resources and increasing irrigation areas shall led to the country’s
prosperity and national security at the end.