เรื่อง: แนวทางการขับเคลื่อนการใช้รถยนต์ไฟฟ้าแทนรถยนต์สันดาปภายในของภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทย,(วปอ.10130)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ธีรเมศร์ ธีระชวัลพงศ์,(วปอ. 10130)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการขับเคล่ือนการใช้รถยนต์ไฟฟ้าแทนรถยนต์สันดาปภายในของ
ภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทย
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย นายธีรเมศร์ ธีระชวัลพงศ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี 66
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การค้าและการลงทุนรถ EV ของจีน
ในประเทศการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวทางขับเคล่ือนการใช้
เทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้าแทนรถยนต์สันดาปภายใน ของภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศไทย
และต่างประเทศ การวิเคราะห์ ปัญหาและอุปสรรคท่ีเกี่ยวข้องกับการขับเคล่ือนการใช้รถยนต์ไฟฟ้า
แทนรถยนต์สันดาปภายในของภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทย เพื่อเสนอแนวทางการ
ขับเคล่ือนการใช้รถยนต์ไฟฟ้าแทนรถยนต์สันดาปภายในของภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทย
โดยมีวิธีการศึกษา ประกอบด้วย การน าข้อมูลท้ังแบบทุติยภูมิจากเอกสารต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง และแบบ
ปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์กับผู้ให้ข้อมูลส าคัญในระดับผู้บริหาร จากหน่วยงานต่างๆ จ านวน 10
หน่วยงาน ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน จากนั้นน าข้อมูลท้ังหมด มาประมวลเพื่อ
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมของการขับเคล่ือนการใช้รถยนต์ไฟฟ้า ด้วย SWOT Analysis เพื่อก าหนดกล
ยุทธ์การขับเคล่ือนการใช้รถยนต์ไฟฟ้าของประชาชน โดยใช้ TOWS Matrix และน าเสนอโดยแผนท่ี
ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) ตามมิติของหลักการ Balanced Scorecard (BSC) เพื่อแสดงความ
เช่ือมโยงและแนวทางการขับเคล่ือนกลยุทธ์ ผลการศึกษาพบช่องว่างทางกลยุทธ์ท่ีส าคัญ 6 ด้าน
ได้แก่ 1. นโยบายไม่มีแผนปฏิบัติการและตัวชี้วัดในแต่ละปีท่ีชัดเจน ๒.บุคลากรขาดทักษะในการผลิต
รถยนต์ไฟฟ้าและช้ินส่วน 3. มาตรฐานบังคับ (มอก.) ของรถยนต์ไฟฟ้าและช้ินส่วนส าคัญ 4. รถยนต์
ไฟฟ้ายังมีราคาสูงกว่ารถยนต์สันดาปภายใน 5. ความกังวลของสถานีอัดประจุไฟฟ้าท่ีไม่ครอบคลุมท่ัว
ภูมิภาค 6. มาตรการการลดก๊าซเรือนกระจก เพื่อส่งเสริมการใช้รถยนต์ไฟฟ้ายังไม่ชัดเจน ผลการ
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมของการขับเคล่ือนการใช้รถยนต์ไฟฟ้าพบว่าประเทศไทยมีจุดแข็ง คือ
ประเทศไทยมีความพร้อมในการขับเคล่ือนอุตสาหกรรมยานยนต์และช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์ แต่มี
จุดอ่อน คือ ผู้ประกอบการบางรายยังไม่มีความพร้อมและยังปรับตัวไม่ทันกับการเปล่ียนแปลง และมี
อุปสรรคในเรื่องของต้นทุนการผลิต ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ดังนั้นจึงได้น าเสนอ 3 ยุทธศาสตร์
เพื่อแก้ไขช่องว่างข้อจ ากัดและสนับสนุนจุดแข็งเพื่อเปิดรับโอกาสการพัฒนา ได้แก่ ยุทธศาสตร์ท่ี 1
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ตลอดจนการสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และถ่ายทอดเทคโนโลยีสมัยใหม่
ด้านยานยนต์ไฟฟ้าสู่บุคลากรอย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การประชาสัมพันธ์ และสร้างการรับรู้ใน
การใช้รถยนต์ไฟฟ้า ยุทธศาสตร์ที่ 3 การปรับปรุง มาตรฐาน กฎหมาย และระเบียบต่างๆ ให้มีความ
ทันสมัย เป็นธรรม และเอื้อต่อการส่งเสริมการใช้รถยนต์ไฟฟ้า
abstract:
ข
Abstract
Title Guidelines for Driving the Use of Electric Vehicles Instead of Internal
Combustion Vehicles in the Automotive Industry in Thailand
Field Science and Technology
Name Mr. Theerameth Theerachawalpon Course NDC Class 66
This paper is a qualitative study that aims at examining transformative
move of Thai and international auto industries long dominated by internal combustion
engine technology toward technology for electric cars (EV) and analyzing problems and
challenges facing Thailand’s auto sector in the context of EV as a replacement for
internal combustion engine-driven cars to come up with policy recommendations for
the ongoing promotion of EV in the country. Methodology includes relying on
secondary data such as related documents and primary data such as interviews with
sources with high-ranked positions from 10 agencies in government, private, and civic
sectors. Based on SWOT Analysis approach, the acquired data will then be synthesized
to make sense of EV market ecosystem to produce strategies for EV consumption
promotion using TOWS Matrix. With those methods at play, strategic map will be
created, based on the Balanced Scorecard (BSC) principle, to demonstrate information
linkage and strategic approach to EV promotion.
The study found 6 gaps in strategies including (1) an absence of clear
master plan and measurement in EV policy each year, (2) a lack of skilled labor in EV
technology and components, (3) an absence of Thailand Industrial Standard (TIS) for
an EV sector and its key components, (4) EV’s higher cost of production than cars
with internal combustion engine, (5) concern over sufficiency of EV charger stations,
and (6) unclear national plan to reduce greenhouse gas in support for EV
consumption. The results of EV ecosystem analysis suggest that major strength of
Thailand is its readiness to foster auto industry and electronic parts, while pointing
out the nation’s weakness which is manufacturers’ inability to cope with an ever-
changing industry landscape where key obstacles involve high cost of production and
technological advancement.
Thus, the paper proposes 3 strategies to overcome such limitation and
meanwhile to maintain strength for further development which are: (1) improving
infrastructure as well as supporting research and development (R&D) activities and
technological transfer among human resources in EV sector, (2) boosting public relations
and raising public awareness about EV consumption, (3) upgrading standards, laws, and
regulations in an up-to-date, transparent, and EV-supportive manner.