Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาประสิทธิภาพการส่งกำลังบำรุงของกองทัพอากาศด้วย Big Data Technology,(วปอ.10115)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาวาอากาศเอก ทวินพัฒก์ จบกลศึก,(วปอ. 10115)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาประสิทธิภาพการส่งก าลังบ ารุงของกองทัพอากาศด้วย Big Data Technology ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้วิจัย นาวาอากาศเอก ทวินพัฒก์ จบกลศึก หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี ๖๖ การพัฒนาประสิทธิภาพการส่งก าลังบ ารุงของกองทัพอากาศด้วย Big Data Technology มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Technology) และหาแนวทาง การน าเทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Technology) ไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนหรือ การตัดสินใจ (Big Data Analytic) เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการส่งก าลังบ ารุงของกองทัพอากาศ โดยมีขอบเขตด้านเนื้อหา ยุทธศาสตร์กองทัพ ๒๐ ปี กองทัพอากาศและเทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Technology) ขอบเขตด้านด้านประชากร เป็นข้าราชการกรมส่งก าลังบ ารุงทหารอากาศ และขอบเขตด้านพื้นท่ีศึกษา คือ กองทัพอากาศ วิธีด าเนินการวิจัยมีขั้นตอนก าหนดกลุ่มเป้าหมาย สร้างเครื่องมือท่ีใช้ในการส าหรับสัมภาษณ์เชิงลึก ( In-depth Interview) เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล จากการสัมภาษณ์ และรวบรวมข้อมูลจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ผลการศึกษาการด าเนินการของกองทัพอากาศ เพื่อรองรับ Big Data ต้องมีการเตรียม ความพร้อมในด้านต่างๆ ท่ีส าคัญ ๕ ด้าน ดังนี้ ด้านโครงสร้างหน่วยท่ีเกี่ยวข้องกับงาน , Big Data, ด้านเครือข่าย, ด้านศูนย์ข้อมูลกองทัพอากาศ (RTAF Data Center), ด้านธรรมาภิบาลข้อมูล และ ด้านการพัฒนาบุคลากร แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการส่งก าลังบ ารุงของกองทัพอากาศด้วย Big Data Technology ระบบสารสนเทศด้านการส่งก าลังบ ารุงของกองทัพอากาศ มีการพัฒนามา อย่างต่อเนื่องเห็นได้จากจ านวนระบบ ความซับซ้อนของระบบ และปริมาณข้อมูล ซึ่งสามารถรวบรวม เป็นคลังข้อมูล (Data Warehouse) ได้ โดยมีการเช่ือมโยงข้อมูลกันภายในระบบ ซึ่งส่งผลต่อ การวางแผนการก าหนดงบประมาณ สถานภาพอากาศยาน สถานภาพเช้ือเพลิง สถานภาพอาวุธ และการซ่อมบ ารุงอากาศยาน ข้อเสนอแนะเชิงกลยุทธ์ แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการส่งก าลังบ ารุงของ กองทัพอากาศด้วย Big Data Technology จ าเป็นต้องมีการวางแผนระดับยุทธศาสตร์ระยะยาว ท่ีชัดเจนให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาองค์กร การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนางานวิจัย และการพัฒนาระบบ สารสนเทศ เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลพื้นฐานในการสร้างระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

abstract:

ข Abstract Title Enhancing the Logistics Efficiency of the Royal Thai Air Force with Big Data Technology Field Science and Technology Name Group Captain Twinpat Jobkolsuk Course NDC Class 66 This study aims to explore big data technology and its application in big data analysis to enhance the logistics efficiency of the Royal Thai Air Force (RTAF). The content scope includes the RTAF's 20-year strategic plan and Big Data Technology, with the population scope comprising personnel from the Directorate of Logistics, and the study area focusing on the RTAF. The research methodology involves defining target groups, developing tools for in-depth interviews to collect data, and gathering information from relevant documents and research. The findings indicate that the RTAF's implementation of big data requires preparation in five key areas: organizational structure related to works and big data, network, RTAF Data Center, data governance, and personnel development. The logistics information systems of the RTAF have been continuously developed, evident in the number of the systems, complexity of the systems, and volume of the data. These systems can be integrated into a data warehouse, linking data within the system, affecting budget planning, aircraft status, fuel status, weapon status, and aircraft maintenance. Strategic recommendations suggest that enhancing logistics efficiency with big data technology requires a clear long-term strategic plan aligned with organizational development direction, information technology advancement, personnel development in IT, research development, and information system development to provide a foundational database for decision support systems.