เรื่อง: กระบวนการสร้างการอำนวยความยุติธรรมในคดีความมั่นคงโดยความร่วมมือของเจ้าหน้าที่รัฐในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้,(วปอ.10114)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง เด่นเดือน กลั่นสอน,(วปอ. 10114)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง กระบวนการสร้างการอ านวยความยุติธรรมในคดีความมั่นคงโดยความร่วมมือ
ของเจ้าหน้าที่รัฐในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ลักษณะวิชา การเมือง
ผู้วิจัย นางเด่นเดือน กลั่นสอน หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี ๖๖
เอกสารวิจัยนี้ เป็นการศึกษาวิจัยถึงกระบวนการสร้างการอ านวยความยุติธรรม
ในคดีความมั่นคงโดยความร่วมมือของเจ้าหน้าท่ีรัฐในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ จากปัญหา
การก่อเหตุความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ท่ีเป็น ความผิดอาญาเกี่ยวกับความมั่นคง
ท่ีมีลักษณะเฉพาะมีการบังคับใช้กฎหมายพิเศษเฉพาะในพื้นท่ีเกิดประเด็นเรื่องหลักนิติรัฐ และ
การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีหน่วยงานความมั่นคงมีประเด็นเรื่องการละเมิดสิทธิผู้ถูกล่าวหาและ
ไม่เป็นไปตามหลักนิติธรรมและหลักธรรมาภิบาล ส่งผลต่อการอ านวยความยุติธรรมในการด าเนินคดี
ความมั่นคงในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์
ถึงกระบวนการสร้างการอ านวยความยุติธรรมในคดีความมั่นคงโดยความร่วมมือของเจ้าหน้าท่ีรัฐ
ในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเพื่อสังเคราะห์หาแนวทางในอ านวยความยุติธรรมในคดีความ
มั่นคงโดยความร่วมมือของเจ้าหน้าท่ีรัฐในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้อย่างมีเอกภาพและสามารถ
บูรณาการให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ และแผนท่ีเกี่ยวข้องได้ตามเป้าหมาย โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ
วิจัยเอกสารยุทธศาสตร์ชาติเกี่ยวกับความมั่นคง หลักนิติธรรม หลักนิติรัฐ หลักธรรมาภิบาล ทฤษฎี
เกี่ยวกับการบูรณาการ และการสัมภาษณ์เชิงลึกเจ้าหน้าท่ีของรัฐในหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม
หน่วยงานคุ้มครองสิทธิ หน่วยงานความมั่นคงท่ีเกี่ยวข้องกับการด าเนินคดีความมั่นคงท่ีเป็นหน่วย
ปฏิบัติในพื้นท่ี รวม ๑๓ หน่วยงาน น ามาจ าแนกข้อมูล และใช้วิธีการวิเคราะห์และสังเคราะห์
โดยใช้ทฤษฎีการบูรณาการเพื่อหาแนวทางในอ านวยความยุติธรรมในคดีความมั่นคงโดยความร่วมมือ
ของเจ้าหน้าท่ีรัฐในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้หากรอบแนวคิดเกี่ยวกับการด าเนินคดีความมั่นคง
ผลการวิจัยพบว่า แม้รัฐมีนโยบายแก้ไขปัญหาการก่อความรุนแรงด้วยการด าเนินคดี
น าผู้กระท าความผิดมาลงโทษแทนการใช้ก าลังทางทหาร แต่จากกระบวนการตามกฎหมายพิเศษ
ท่ีให้อ านาจเจ้าหน้าท่ีรัฐมากว่ากฎหมายปกติ เกิดปัญหาการละเมิดสิทธิผู้ต้องสงสัย การขัดขวาง
การเก็บพยานหลักฐาน เจ้าหน้าท่ีขาดเข้าใจในยุทธศาสตร์ และแผนท่ีตรงกัน ยังไม่มีแนวทางท่ีชัดเจน
ในการหลักนิติรัฐ นิติธรรม และธรรมาภิบาล ไม่สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เจ้าหน้าท่ียังไม่สามารถ
รักษาสมดุลระหว่างความมั่นคงและการคุ้มครองสิทธิประชาชนได้ การสร้างความร่วมมือไม่สามารถ
ท าได้ในระดับการบูรณาการ จากกรอบความคิดท่ีแตกต่างและความไม่เข้าใจในสภาพพื้นท่ี
ส่งผลต่อการอ านวยความยุติธรรมการด าเนินคดีความมั่นคง และการยอมรับจากประชาชนในพื้นท่ี
ข้อเสนอแนะท่ีได้จากการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ได้แก่ การก าหนด
นโยบายการอ านวยความยุติธรรมในการด าเนินคดีความมั่นคงในระดับยุทธศาสตร์ การให้ความส าคัญ
กับการสร้างการบูรณาการและการเช่ือมโยงการด าเนินการตามแผนให้เกิดอย่างจริงจัง เป็นรูปธรรม
ควรให้ส านักงานอัยการท่ีรับผิดชอบการด าเนินคดีความมั่นคงท าหน้าท่ีเช่ือมโยงหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
ข
ในการสร้างกรอบแนวคิดในการบูรณาการการอ านวยความยุติธรรมร่วมกัน และควรมีหน่วยงาน
ท าหน้าท่ีส่ือสารประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความเข้าใจ ป้องกันแก้ไขปัญหาการปิดเบือนข้อมูล ข้อเสนอ
ระดับการขับเคล่ือนและการปฏิบั ติการ ได้แก่การคัดเลือกเจ้าหน้าท่ีมี คุณสมบัติเหมาะสม
กับการท างานในพื้นท่ี มีการฝึกอบรมเจ้าหน้าท่ีรัฐเพื่อการสร้างความรู้ความเข้าใจในทุกมิติพื้นท่ี
การสร้างความสมดุลระหว่างการรักษาความมั่นคงและการคุ้มครองสิทธิของประชาชนในการ
ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีรัฐในพื้นท่ี การสร้างชุดความคิดในการร่วมมือระดับการบูรณาการทาง
ความคิดเพื่อการอ านวยความยุติธรรม หน่วยงานของรัฐท่ีปฏิบัติหน้าท่ีด้านความมั่นคง ควรได้รับ
การอบรมความรู้และร่วมแลกเปล่ียนสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนและกระบวนการยุติธรรม
จากท้ังในประเทศ และต่างประเทศ และข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป ได้แก่ แนวทาง
การจัดท าหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อการสร้างการบูรณาการระดับความคิดของเจ้าหน้าท่ีรัฐ งานวิจัย
การสร้างชุดความคิดใหม่เพื่อการปฏิบัติงานให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง และการวิจัยเรื่องการก าหนด
อนาคตตนเอง (Self Determination)
abstract:
ค
Abstract
Title The Process of Facilitating Justice in Security Cases Through the
Collaboration of State Officials in the Southern Border Provinces
of Thailand
Field Politics
Name Mrs. Dendeun Klanson Course NDC Class 66
This research paper studies the process of facilitating justice in security
cases through the collaboration of state officials in the southern border provinces of
Thailand. The violent incidents in these provinces are specific security-related
criminal offenses that necessitate the application of special laws, raising issues of rule
of law and the actions of security agencies. The enforcement of these laws has
resulted in violations of the rights of suspects and non-compliance with the
principles of the rule of law and good governance, impacting the facilitation of justice
in security cases. Therefore, this research aims to study and analyze the process of
facilitating justice in security cases through the collaboration of state officials in the
southern border provinces and to synthesize guidelines for integrated justice
facilitation that aligns with strategies and plans.
A qualitative research methodology was employed, including the analysis
of national security strategies, principles of the rule of law, good governance,
integration theories, and in-depth interviews with officials from 13 agencies involved
in justice processes, rights protection, and security operations. The data was categorized
and analyzed using integration theories to find guidelines for justice facilitation in
security cases through state collaboration.
The findings indicate that although the government has policies to
address violence by prosecuting offenders instead of using military force, the special
laws grant state officials more power than regular laws, leading to rights violations,
obstruction of evidence collection, and a lack of understanding of unified strategies
and plans. There are no clear guidelines for applying the principles of the rule of law
and good governance in practice, and officials struggle to balance security and the
protection of citizens' rights. Collaboration at an integrated level is hindered by
differing frameworks and a lack of understanding of the local context, affecting the
facilitation of justice and public acceptance in the area.
Policy recommendations include establishing strategic-level policies for
justice facilitation in security cases, emphasizing serious and concrete integration and
ง
plan linkage. The Office of the Attorney General should play a coordinating role in
creating an integrated justice framework, and there should be a communication agency
to foster understanding and prevent misinformation. Operational recommendations
include selecting suitable officials for the area, providing training to build comprehensive
knowledge of the region, balancing security and rights protection, and fostering a
mindset for integrated justice collaboration. Security officials should receive training
on human rights and justice processes, both domestically and internationally. Future
research suggestions include developing training courses for integrated mindset building
among state officials, researching new conceptual frameworks for contemporary
operations, and studying self-determination.