เรื่อง: แนวทางการอนุวิติการ กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) ต่อการพัฒนาองค์ประกอบกฎหมายด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของไทย,(วปอ.10110)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง ณัฐริกา วายุภาพ นิติพน,(วปอ. 10110)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การอนุวัติการกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมิ อากาศ (UNFCCC) ต่ อการพัฒนาองค์ประกอบกฎหมายด้ านการ
เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ลักษณะวิชา การเมือง
ผู้วิจัย นางณัฐริกา วายุภาพ นิติพน หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี ๖๖
การวิจัยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑. เพื่อศึกษาบทบัญญัติของ กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติ
ว่าด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และความตกลงปารีส รวมท้ังทิศทางนโยบายและเป้าหมาย
ของประเทศ ท่ีมีความส าคัญต่อการอนุวัติการมาสู่องค์ประกอบท่ีส าคัญในการพัฒนากฎหมาย และ
๒. เพื่อวิเคราะห์จัดท าข้อพิจารณาเสนอแนะทางวิชาการ เกี่ยวกับองค์ประกอบท่ีส าคัญต่อการอนุวัติ
การกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และความตกลงปารีส
มาสู่การพัฒนาจัดท ากฎหมายด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศของไทย
ผลการวิจัยเพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อท่ี ๑ พบว่า ๑. หลักการ และเจตนารมณ์หรือ
วัตถุประสงค์ของกรอบอนุสัญญา UNFCCC มีความส าคัญอย่างยิ่งเนื่องจากการก าหนด Principles
น าไปสู่ “การก าหนดพันธกรณี” โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “หลักการความรับผิดชอบร่วมกัน ในระดับ
ท่ีแตกต่างและเป็นไปตามก าลังศักยภาพ” และหลักการความเป็นธรรม ๒. Climate Change เป็น
มากกว่าเพียง ประเด็นด้านส่ิงแวดล้อม” แต่ถือเป็น “ทิศทางการพัฒนาประเทศ” ท้ังด้านเศรษฐกิจ
และสังคม ท่ีส่งผลกระทบต่อประชาชนทุกคนในทุกด้าน ทุกมิติ ซึ่ง UNFCCC มีบทบัญญัติส าคัญ
แบ่งเป็นองค์ประกอบท่ี ๑ คณะกรรมการ นโยบายและโครงสร้างเชิงสถาบัน องค์ประกอบท่ี ๒
การปล่อยและการลดก๊าซเรือนกระจก องค์ประกอบท่ี ๓ การปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ และองค์ประกอบท่ี ๔ มาตรการสนับสนุนการด าเนินงานด้านการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ ๓. ทิศทางนโยบายและเป้าหมายของประเทศท่ีมีความส าคัญต่อการอนุวัติการคือ เป้าหมาย
Carbon Neutrality 2050 และ Net Zero GHG Emissions 2065 ท่ีประเทศไทยได้แสดงเจตจ านง
ต่ออนุสัญญาฯ ผลการวิจัยเพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อท่ี ๒ พบว่า ๑. กรมการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศและส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ได้ยกร่าง “ร่างพระราชบัญญัติ
การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. ....” มีท้ังหมด ๑๖๙ มาตรา และได้จัดรับฟังความคิดเห็นของ
ประชาชน ในเดือนระหว่างเดือนมีนาคม-เมษายน ๒๕๖๗ ๒. ร่างกฎหมายฉบับดังกล่าว ได้ให้น้ าหนัก
ความส าคัญกับการจัดการข้อมูลก๊าซเรือนกระจก และการลดก๊าซเรือนกระจกอย่างมาก แสดงถึง
ความมุ่งมั่นของประเทศไทยในการมีส่วนร่วมลดก๊าซเรือนกระจกต่อประชาคมโลก และตอบโจทย์
พันธกรณีของอนุสัญญาอนุสัญญา UNFCCC และความตกลงปารีส ๓. ร่าง พรบ. ฉบับนี้ให้น้ าหนัก
ด้าน “การปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ” ท่ีค่อนข้างเบาบางกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับ
ด้านการลดก๊าซเรือนกระจก ๔. ร่าง พรบ. มิได้ระบุถึงภาคป่าไม้ จึงอาจพิจารณาเพิ่มเติมบทบัญญัติ
ความส าคัญด้านป่าไม้ ในลักษณะคล้ายกับบทบัญญัติของความตกลงปารีส ๕. ควรเพิ่มเติม
ข
“มาตรการส่งเสริม” สร้างแรงจูงใจ สร้างการมีส่วนร่วม ๖. “ความร่วมมือของทุกภาคส่วน เป็นปัจจัย
ของความส าเร็จ” จึงต้องมุ่งเน้นสร้างความตระหนักรู้ให้กับประชาชนทุกภาคส่วน ให้สังคมเกิดความ
ตระหนัก และมีส่วนร่วมด าเนินงาน ๗. ข้อสรุปองค์ประกอบกฎหมาย : ด้านคณะกรรมการ นโยบาย
และโครงสร้างเชิงสถาบัน มีความหนักแน่นชัดเจน ๘. ข้อสรุปองค์ประกอบกฎหมาย : ด้านการปล่อย
และการลดก๊าซเรือนกระจก พบว่าจะมีมาตรการใหม่เกิดขึ้น อาทิ GHG Reporting; Emissions
Trading Scheme (ETS); Carbon Tax; Crediting Mechanism (Carbon Credit) การตัดสินใจใช้
เครื่องมือเชิงนโยบายของภาครัฐควรต้ังอยู่บนหลักการของอนุสัญญาฯ โดยเฉพาะหลักการ CBDR & RC
และ Equity ๙. ข้อสรุปองค์ประกอบกฎหมาย : ด้านการปรับตัว พบว่าร่าง พรบ. มีบทบัญญัติ
ท่ีเกี่ยวข้องกับการปรับตัว ค่อนข้างน้อย และยังขาดการระบุถึงมาตรการรองรับความสูญเสีย
และความเสียหาย ๑๐. ข้อสรุปองค์ประกอบกฎหมาย : ด้านมาตรการสนับสนุนการด าเนินงาน พบว่า
การจัดต้ังกองทุน Climate Fund มีความสอดคล้องกับอนุสัญญาฯ และความตกลงปารีสค่อนข้างมาก
และควรเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับ Climate Sciences การพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี
การพัฒนาศักยภาพ การส่ือสารข้อมูลกับภาคประชาชน สร้างความรู้ความตระหนัก และการศึกษา
ผู้วิจัยได้จัดท าข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ดังนี้ ๑. ในร่าง “บันทึกหลักการและเหตุผล”
ของร่าง พรบ. ควรเพิ่มเติมหลักการ CBDR & RC เพื่อให้เกิดความชัดเจนของการก าหนดเจตนารมณ์
วัตถุประสงค์ และหลักการ ของกฎหมาย ท่ีสอดคล้องกับ UNFCCC ๒. ควรยกระดับการด าเนินงาน
ด้าน Adaptation สร้างความชัดเจนต่อสู้ปัญหา Loss & Damage โดยเน้นเสริมสร้างศักยภาพการต้ังรับ
ปรับตัวสร้างภูมิคุ้มกัน ๓. ควรส่งเสริมด้าน Research and Development โดยบูรณาการร่วมกับ
หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ภาคประชาชน โดยอาจจัดต้ังคณะกรรมการวิทยาศาสตร์ด้านการเปล่ียนแปลง
สภาพภูมิอากาศขึ้นคล้ายกับ IPCC ๔. ควรเพิ่มจ านวนองค์ประกอบ “กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจาก
ภาคเอกชน” ให้มีจ านวนใกล้เคียงกับกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอื่นๆ ในคณะกรรมการ นโยบายการ
เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ และคณะกรรมการกองทุนการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๕. ไทยควรยกระดับการด าเนินงาน โดยจัดต้ังเป็น “ส านักงานคณะกรรมการนโยบายการเปล่ียนแปลง
สภาพภูมิอากาศ” เป็นหน่วยงาน “ระดับกระทรวง” ช่วยเสริมการแก้ไขปัญหาเชิงบูรณาการได้ดียิ่งขึ้น
ผลการวิจัยได้มีข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ ดังนี้ ๑. ประชาชนคนไทยและภาคส่วน
ท่ีเกี่ยวข้อง ควรให้ความสนใจศึกษา และให้ความเห็นต่อร่างพระราชบัญญัติการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ พ.ศ. .... เนื่องจากร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวจะมีผลกระทบต่อการด าเนินงานของทุกภาค
ส่วนและทิศทางการพัฒนาประเทศในทุกมิติท้ังทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม ตลอดจน
ความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงทางพลังงาน ความมั่นคงด้านฐานทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม
ของคนไทยทุกคน ๒. ควรมีการบูรณาการความร่วมมือ ด้านการพัฒนาศักยภาพการวิจัยและพัฒนา
ร่วมกัน ในระดับประเทศ ภูมิภาค และนานาชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเสริมสร้างศักยภาพการรับมือ
การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศสู่ประเทศท่ีมีเศรษฐกิจและสังคมท่ีต้ังรับและปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลง
สภาพภูมิอากาศ และประเทศท่ีพัฒนาแบบปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่ า และสามารถรับมือต่อปัญหา
การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศได้ด้วยความรับผิดชอบร่วมในระดับท่ีแตกต่างและเป็นไปตามก าลัง
ศักยภาพ
abstract:
ค
Abstract
Title Implementing the Provisions of the UNFCCC to Develop Major
Components of Domestic Law on Climate Change in Thailand
Field Politics
Name Mrs. Natarika Wayuparb Nitiphon Course NDC Class 66
The objectives of this research are : Firstly, to study the provisions of the
United Nations Framework Convention on Climate Change (UNFCCC), and the Paris
Agreement, including Thailand’s national policy direction and targets – as the crucial
elements for developing domestic legislation in line with the provisions of the UNFCCC ;
and Secondly, to analyze and make recommendations on implementing the provisions
of the Convention and the Paris Agreement to develop major components of domestic law
on climate change in Thailand.
Key findings to the first objective of this research are, as follows :
1. “Objectives and Principles of the UNFCCC” are of great importance because the
setting of principles leads to the setting of obligations to the parties to the Convention,
particularly the principles of “Common but Differentiated Responsibility and Respective
Capabilities (CBDR & RC)” and the Basis of Equity; 2. “Climate Change” is beyond the
“Environmental Issues”. It should be considered as the direction of national development
due to its great relevance and impacts on economic and social development dimensions;
3. The UNFCCC provisions is analyzed in 4 components. The first component is the committee,
the policy, and institution arrangements; The second component is the greenhouse gases
(GHG) emissions and reductions; The third component is the adaptation to impacts of climate
change; and the fourth component is the supportive measure to the implementation;
4. Thailand submitted the climate targets to the UNFCCC on Carbon Neutrality 2050, and
Net Zero GHG Emissions 2065, which are the national policy targets for implementation.
Key findings to the second objective of this research are: 1. Department of
Climate Change and Environment, the Ministry of Natural Resources and Environment has
prepared the “Draft bill - Climate Change Act B.E. ...." which comprises 169 articles. The
draft bill has been through public hearing processes in March - April 2024; 2. The draft bill
has its main focuses on GHG emissions information reporting system, and GHG mitigation
measures and mechanisms, which show Thailand's commitment and great efforts to
participate in GHG mitigation to meet the obligations of the UNFCCC and the Paris
Agreement; 3. The draft bill gives weight to the “Adaptation to impacts of climate change”
in a slightly modest manner, compared to the “GHG emissions and mitigation” issues;
4. The draft bill does not mention the forestry sector. It may be considered to add
ง
provisions on forestry, in a manner that is similar to the provisions of the Paris Agreement;
5. Supportive measures and incentives should be added; 6. People’s participation from all
sectors is a key success factor for the implementation and law enforcement; 7. In the
committees, policies, and institutional arrangement component, the draft bill is clear and
strong; 8. In the GHG emissions and mitigation component, the draft bill will generate several
new regulatory measures, including GHG Reporting; Emissions Trading Scheme (ETS); Carbon
Tax; Crediting Mechanism (Carbon Credit). However, it should be ensured that the policy,
measures and tools should be based on the principles of the Convention, particularly the
principles of CBDR & RC and Equity; 9. In the adaptation component”, the draft bill still has
relatively few provisions related to adaptation, while the loss and damage measure are still
absent; 10. In the supportive measures component, the establishment of the Climate Fund
is consistent with the UNFCCC. Besides, there should be more provisions regarding : Climate
sciences and research; Technology development and transfer; Capacity building; Communication
of information to people and all stakeholders; Awareness raising; and Education.
Policy recommendations are provided, as follows: 1. In the draft “Principles
and Rationales” of the draft Act, the UNFCCC principles on CBDR & RC should be added to
provide the clarity in its determination of objectives and principles; 2. Adaptation issues
should be raised up to the high level of intention, including loss & damage, and adaptation
capabilities; 3. Research and development should be promoted and strengthened,
including the establishment the “Scientific Committee on Climate Change” similar to
the IPCC; 4. In the National Climate Change Policy Committee and the Climate Change Fund
Committee, consideration should be given to increase the number of “experts from
the private sector” in a similar number to the ex-officio experts; 5. Thailand could enhance
ambition on institutional framework, by establishing the “Office of Climate Change Policy
Committee” as a “ministerial-level” agency. This ministerial-level agency is expected to
elevate and strengthen the level of coordination and integration on the implementation.
Additionally, this research provides the operational recommendations, as follows
: 1. Thai people and relevant sectors should pay attention to study and provide opinions on
the draft Climate Change Act B.E. ....The implications of this draft law will have an impact on
everyone, in every dimension of national development. The implications of law enforcement
are extended to the food security, energy security, and the national security in natural
resource and environment; 2. Crossed-sector cooperation in climate sciences, research and
development should be enhanced nationally, regionally and internationally. Capacity
development and capabilities should be amplified, particularly on the climate change
adaptation to build Thailand the climate resilience society, and the low GHG emission
development society.