เรื่อง: แนวทางการจัดตั้งและบริหารกองทุนพัฒนาอุตสาหกรรมคู่ชุมชนเพื่อสร้างอุตสาหกรรมเศรษฐกิจที่ยั่งยืน,(วปอ.10106)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว ณัฏฐิญา เนตยสุภา,(วปอ. 10106)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เร่ือง แนวทางการจัดตั้งและบริหารกองทุนพัฒนาอุตสาหกรรมคูชุมชน
เพื่อสรางอุตสาหกรรมเศรษฐกิจที่ย่ังยืน
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผูวิจัย นางสาวณัฏฐิญา เนตยสุภา หลักสูตร วปอ. รุนที่ 66
ประเทศไทยไดกาวมาสูจุดเปลี่ยนท่ีสำคัญทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมจากการ
เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมในระดับโลก สงผลตอการพัฒนาอุตสาหกรรมอยางรอบดาน
กระทรวงอุตสาหกรรม จึงจำเปนตองคำนึงถึงสถานการณและบริบทดังกลาว เพ่ือปรับทิศทางการ
ทำงานใหสอดรับกัน งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาและวิเคราะหสถานการณดานเศรษฐกิจรวมถึง
นโยบาย แผนยุทธศาสตร และมาตรการตาง ๆ การพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมดวยกลไกของ
กองทุน รวมถึงกฎหมายท่ีเก่ียวของ เพ่ือกำหนดแนวทางการจัดต้ังและบริหารกองทุนพัฒนาอุตสาหกรรม
คูชุมชน ซ่ึงจะเปนกลไกหนึ่งในการพัฒนาอุตสาหกรรม เยียวยา ฟนฟู ปองกัน และแกไขผลกระทบท่ี
เกิดจากการประกอบการอุตสาหกรรมตอสิ่งแวดลอม สังคมและชุมชน การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ
โดยเก็บขอมูลปฐมภูมิจากผูบริหาร เจาหนาท่ีกระทรวงฯ และผูแทนหนวยงานภาครัฐและเอกชน
รวมถึงภาคประชาชน ประชาสงัคมท่ีเก่ียวของกับภาคอุตสาหกรรม และขอมูลทุติยภูมิท่ีเก่ียวของ
จากการศึกษาและวิเคราะหขอมูลขางตนพบวา แนวทางการจัดตั้งกองทุนพัฒนา
อุตสาหกรรมคูชุมชนมี 2 ระยะ โดยระยะแรก กระทรวงฯ จะจัดทำรางพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) โรงงาน
(ฉบับท่ี ..) พ.ศ. ... ซ่ึงจะมีการแกไข พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ใหมีการดำเนินการเก่ียวกับกองทุน
โดยเพ่ิมหมวด ๑/๒ กองทุนแกไขปญหาผลกระทบจากการประกอบกิจการโรงงาน เพ่ือใหมีการเยียวยา
ฟนฟู ปองกัน ในขณะท่ีกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐซ่ึงเปนกองทุนภายใตกระทรวงฯ ทำ
ดานการสงเสริมพัฒนาภาคอุตสาหกรรม และในระยะยาวจะรวม 2 กองทุนนี้เขาดวยกัน โดยจะมีการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายหลังจากท่ีท้ัง 2 พ.ร.บ ของ 2 กองทุนมีผลบังคับใชแลววาแตละ
กองทุนมีการดำเนินงานเปนไปตามวัตถุประสงคท่ีระบุไวใน พ.ร.บ. หรือไม ซ่ึงในกรณีท่ีควรมีการรวม
2 กองทุนเปนกองทุนเดียวเพ่ือใหสอดคลองกับสภาพการณหรือเหตุจำเปนอ่ืน ๆ จึงทำการเสนอเรื่อง
ขอความเห็นชอบการจัดตั้งกองทุนพัฒนาอุตสาหกรรมคูชุมชนจากคณะกรรมการนโยบายบริหารทุน
หมุนเวียน จากนั้นจึงยกราง พ.ร.บ.แกไขเพ่ิมเติมของท้ัง 2 พ.ร.บ. และดำเนินกระบวนการตาม
กฎหมายวาดวยการจัดทำรางกฎหมายและกฎหมายวาดวยการตรากฎหมายตอไป สำหรับการ
บริหารงานกองทุนฯ จะบริหารโดยคณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาอุตสาหกรรมคูชุมชน ซ่ึงจะมี
คณะอนุกรรมการ อีก 2 ชุด ทำหนาท่ีเก่ียวกับการสงเสริมพัฒนาและยกระดับอุตสาหกรรมสูอนาคต
และการประกอบการอุตสาหกรรมอยางยั่งยืน และการเยียวยาและแกไขปญหาจากการประกอบการ
อุตสาหกรรม นอกจากนี้ ผูวิจัยไดมีขอเสนอแนะเพ่ิมเติม ไดแก การแบงสัดสวนการใชจายเงินกองทุนฯ
อยางเหมาะสม การพัฒนาโครงสราง ระบบบริหาร และประเมินความคุมคาของกองทุนฯ การสราง
เครือขายพันธมิตร การศึกษาแนวทางการใชรูปแบบการสรางความรวมมือท่ีเนนผลลัพธเพ่ือสังคม และ
ขอเสนอสำหรับการทำวิจัยครั้งตอไปเก่ียวกับการวิเคราะหปจจัยท่ีมีผลตอการประเมินผลลัพธ ผลสัมฤทธิ์
ของท้ัง 2 กองทุน ซ่ึงจะเปนประโยชนในการจัดตั้งกองทุนพัฒนาอุตสาหกรรมคูชุมชนตอไป
abstract:
ข
Abstract
Title Approach to Establishing the Community Industrial Development
Fund for Promoting Sustainable Economic Industry
Field Economics
Name Miss Natthiya Nettayasubha Course NDC. Class 66
Thailand is undergoing significant economic and industrial changes due to
global technological advancements. To align with these changes, the Ministry of
Industry must adjust its strategic direction. This research aims to analyze the
economic situation, policies, strategic plans, and measures for economic and
industrial development through fund mechanisms and related laws. The objective is
to establish guidelines for creating and managing the Community Industrial
Development Fund.
The proposed fund will support industrial growth, provide relief,
rehabilitate, prevent, and mitigate the environmental, social, and community impacts
of industrial operations. This qualitative study will gather primary data from
executives, ministry officials, government and private agency representatives, and
industrial and civil society stakeholders, along with relevant secondary data.
The research proposes a two-phase approach to establish the Community
Industrial Development Fund. Phase 1: Draft a revised Factory Act to include fund
provisions, adding Chapter 1/2 for relief, rehabilitation, and prevention. Amendments
to the Factory Act, B.E. 2535 to establish the Fund. Promote industrial development
through the SME Development Fund under the Community Public Participation
Scheme. Phase 2: Merge the two funds. Conducting an evaluation of the laws'
effectiveness to ensure they meet their objectives. If necessary, propose the merger
of the two funds to the Revolving Fund Management Policy Committee for approval.
Draft amendments to both acts and follow the legislative process.
The Community Industrial Fund will be governed by a Board of Directors
with two subcommittees focused on: Promoting and developing future-oriented and
sustainable industrial operations. Providing relief and addressing issues arising from
industrial activities. Recommendations include proper fund expenditure allocation,
developing the fund's structure and evaluation framework, building partnerships,
exploring collaborative models that prioritize social outcomes, and proposal for
further research on analyzing factors affecting the evaluation of outcomes and
achievements of both funds for future establishment of community-industry
partnership development funds.