Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การตรวจสอบเชิงป้องกัน(Preventive Auditing) แนวทางการป้องกันการคอร์รัปชั่น การรั่วไหลและการสูญเปล่าในการใช้จ่ายเงินแผ่นดิน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ประจักษ์ บุญยัง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง การตรวจสอบเชิงปองกัน (Preventive Auditing) : แนวทางปองกันการ ทุจริต คอรรัปชั่น การรั่วไหลและการสูญเปลาในการใชจายเงินแผนดิน ลักษณะวิชา การเมือง ผูวิจัย นายประจักษ บุญยัง หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57 การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหสภาพปญหา สาเหตุของการคอรรัปชั่น การ รั่วไหลและการสูญเปลาในการใชจายเงินแผนดิน ศึกษาหลักการ แนวคิดและทฤษฎีการตรวจสอบเชิง ปองกัน (Preventive Audit) ของในและตางประเทศ และเสนอแนะแนวทางในการตรวจสอบเชิง ปองกันในการลดการคอรรัปชั่น การรั่วไหลและการสูญเปลาในการใชจายเงินแผนดิน เปนการวิจัยเชิง คุณภาพ ซึ่งผลการวิจัยพบวา ตามกฎหมายการตรวจเงินแผนดินในหลายประเทศกําหนดใหองคกร ตรวจเงินแผนดินมีการตรวจสอบเชิงปองกัน (Preventive Audit) เชน องคกรตรวจเงินแผนดินของ ประเทศอังกฤษ อิตาลี บราซิล และนิวซีแลนด เปนตน ซึ่งไดดําเนินการในรูปแบบที่แตกตางกัน สําหรับ การตรวจสอบเชิงปองกันของสํานักงานการตรวจเงินแผนดินไทย ตามกฎหมายก็ใหอํานาจหนาที่ไว บางสวนแตยังไมชัดเจน และจากการศึกษาและสํารวจความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิและหนวยรับตรวจ พบวา สวนใหญเห็นดวยที่จะใหสํานักงานการตรวจเงินแผนดินทําหนาที่ตรวจสอบในเชิงปองกันกอนการ ดําเนินงานหรือจายเงินอยางจริงจัง จะชวยใหปองกันหรือลดการทุจริตคอรรัปชั่น การรั่วไหลและการ สูญเปลาในการใชจายเงินแผนดินไดอยางมาก โดยเฉพาะในกระบวนการจัดซื้อจัดจาง แตตองไมทําให การดําเนินงานของหนวยงานตางๆ และการใชจายเงินลาชา แนวทางการดําเนินการใชมาตรการการตรวจสอบเชิงปองกันใหมีใหมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลนั้น ควรระบุอํานาจหนาที่ไวในกฎหมายใหชัดเจนเชนในตางประเทศ รวมไปถึงการพัฒนา บุคลากร แนวทางและวิธีการตรวจสอบ ระบบฐานขอมูลตางๆ ใหมีความพรอมที่จะปฏิบัติหนาที่ไดอยาง มีประสิทธิภาพ ...............................................................................

abstract:

ABSTRACT Title Preventive Audit : The anti-corruption corrupt leakage and waste in the National spending. Field Politices Name Mr. Prajuck Boonyoung The objective of this qualitative research is to 1) analyze the problems, cause of the corrupt, leakage and waste of National spending. 2) study concept and theory of Preventive Auditing in Thailand and foreign countries. 3) devise methods to improve the process of preventive auditing and post-auditing implementation. By law, the Auditor General, in many countries the organization of the Auditor checked Preventive as Corporate Auditor of England, Italy, Brazil and New Zealand, which has taken on different forms. By law, preventive monitoring of the Office of the Auditor General of Thailand gives them some authority, but it is not yet clear. From the studies and surveys, Experts and the Audited agency agree with the implementation of preventive or pre-pay seriously. To help prevent or reduce corruption corrupt. Leakage and waste in fiscal spending significantly. Especially in the procurement process but do not make the operations of the various departments and the delayed payment. The measures that should be taken in order to improve preventive auditing and to be able to enforce measures after the results are obtained include. It should be clearly stated in the law, such authority abroad. Including staff development, guidelines and auditing methods various database systems, to be ready to perform their duties effectively ................................................................................