Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาด้านมนุษยธรรมจากผลกระทบการสู้รบตามแนวชายแดน กรณีศึกษาในพื้นที่ กองกำลังนเรศวร,(วปอ.10104)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ณรงค์ฤทธิ ปาณิกบุตร,(วปอ. 10104)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาด้านมนุษยธรรมจากผลกระทบการสู้รบ ตามแนวชายแดน กรณีศึกษาในพื้นที่ กองก าลังนเรศวร ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลตรี ณรงค์ฤทธิ ปาณิกบุตร หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี ๖๖ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อศึกษาการปฏิบัติต่อผู้หนีภัยความไม่สงบ ชาวเมียนมา ตามแนวชายแดนท่ีเดินทางเข้ามายังราชอาณาจักรไทย ในพื้นท่ีรับผิดชอบของกอง ก าลังนเรศวร ร่วมถึงเพื่อเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ ผภสม. ในพื้นท่ีปลอดภัยช่ัวคราว ในพื้นท่ีรับผิดชอบของกองก าลังนเรศวร โดยเป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูล แบ่งออกเป็นกลุ่ม ๔ กลุ่ม คือ ๑. ผู้น าทางการทหารและฝ่ายความมั่นคง ๒. นักวิชาการและอาจารย์ด้านมนุษยธรรม และด้านความสัมพันธ์ระหว่างไทยและเมียนมา ๓. ผู้น าท้องถิ่นและตัวแทนชุมชน ๔. หน่วยงานด้าน มนุษยธรรมท่ีปฏิบัติงานในพื้นท่ี หลังจากเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้วิ จัย จะด าเนินการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล ดังนี้ น าข้อมูลท่ีได้จากการจดบันทึกและบันทึกเสียง มาถอดความเป็นข้อความ วิเคราะห์ และจ าแนกข้อมูลตามประเด็นท่ีศึกษา โดยใช้เทคนิคการ วิเคราะห์เนื้อหา สังเคราะห์ และสรุปข้อมูลท่ีได้จากการวิเคราะห์ เพื่อน าเสนอในรูปแบบของ ความเรียง พร้อมท้ังยกข้อความส าคัญจากผู้ให้ข้อมูลมาประกอบ การวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล จะค านึงถึงหลักความเช่ือถือได้ และความสามารถในการถ่ายโอนข้อมูล เพื่อให้ได้ผลการวิจัย ท่ีมีคุณภาพและสามารถน าไปประยุกต์ใช้ได้ จากการด าเนินการวิจัยพบว่า สถานการณ์การสู้รบตามแนวชายแดนไทย-เมียนมา หลังการรัฐประหารในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ได้สร้างผลกระทบต่อหลายมิติ โดยเฉพาะปัญหาผู้หนีภัย จากการสู้รบ (ผภสม.) ท่ีเข้าสู่ประเทศไทย โดยพื้นท่ีชายแดนมีความหลากหลายและความยากล าบาก ปัญหาท่ีพบได้แก่ การจัดเตรียมพื้นท่ีปลอดภัยช่ัวคราว การจัดเตรียมบุคลากรส าหรับการช่วยเหลือ ด้านมนุษยธรรมในพื้นท่ีปลอดภัยช่ัวคราว งบประมาณในการบริหารจัดการให้ความช่วยเหลือ ด้านมนุษยธรรมและการส่ือสารทางยุทธศาสตร์ ส าหรับการวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัย มีข้อเสนอแนะ ในการแก้ไขปัญญาการให้ความ ช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ดังนี้ เชิงนโยบาย สร้างการมีส่วนร่วมให้กับหน่วยงานด้านประชาสังคม เข้ามาร่วมแสดงความคิดเห็น ออกแบบโครงสร้างการท างานของหน่วยงานท่ีไม่ใช่รัฐให้เช่ือมประสาน กับหน่วยงานภาครัฐ และจัดสรรงบประมาณเพื่อการช่วยเหลือบุคคลท่ีไม่มีสัญชาติไทยท่ีเข้ามาด้วย เหตุผลทางมนุษยธรรมเชิงท่ัวไป เพิ่มขีดความสามารถบุคลากรด้านมนุษยธรรม โดยความร่วมมือ กับหน่วยงานภาคประชาสังคมและอาสาสมัครภาคประชาชนในพื้นท่ี สร้างกระบวนการรับรู้ในการ ก าหนดพื้นท่ีรองรับ ผภสม. ค านึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อพื้นท่ีตามแนวชายแดนในทุกมิติ จัดกลุ่มองค์กร ท่ีไม่ใช่รัฐและภาคอาสาสมัครภาคประชาชนในพื้นท่ีให้สอดคล้องกับปัจจัยขั้นพื้นฐานและกรณีพิเศษ อื่น ๆ เช่น กลุ่มเปราะบาง สตรีและเด็ก

abstract:

ข Abstract Title Guidelines for Addressing Humanitarian Issues Arising from Border Conflicts : A Case Study in the Area of the Naresuan Force Field Military Name Major General Narongrit Panigabutr Course NDC Class 66 This research employs a qualitative approach to study the treatment of Myanmar refugees fleeing unrest along the Thai-Myanmar border and entering the Kingdom of Thailand within the Naresuan Force's area of responsibility. It aims to propose guidelines for improving humanitarian assistance to these refugees in temporary safe zones within the same area. The study utilizes in-depth interviews to collect data from four key groups of informants : 1. military and security leaders, 2. academics and professors specializing in humanitarian issues and Thai-Myanmar relations, 3. local leaders and community representatives, and 4. Humanitarian organizations operating in the area. Following data collection, the researcher transcribes the notes and audio recordings, categorizes the data based on the studied topics, and employs content analysis techniques to synthesize and summarize the findings. The analysis process is guided by principles of reliability and transferability to ensure high-quality research outcomes that can be effectively applied. The findings reveal that the conflict along the Thai-Myanmar border, particularly following the 2021 coup, has had multifaceted impacts, especially concerning the issue of refugees entering Thailand. The border area presents diverse and challenging conditions, including the preparation of temporary safe zones, the organization of humanitarian personnel in these zones, budget management for humanitarian aid, and strategic communication. Based on these findings, the researcher recommends encouraging the participation of civil society organizations in providing input and designing structures that integrate the work of non-state actors with government agencies, as well as allocating budgetary resources to assist stateless individuals entering the country for humanitarian reasons. Additionally, it is suggested to enhance the capacity of humanitarian personnel through collaboration with civil society organizations and local volunteer groups, establish awareness processes for designating areas to accommodate refugees, considering the impact on all dimensions of the border areas, and organize non-state organizations and local volunteer groups in alignment with basic needs and special cases, such as vulnerable groups, women, and children.