Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ศึกษาแนวโน้มและปัจจัยที่นำไปสู่ความขัดแย้งทางด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทย - กัมพูชา,(วปอ.10087)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ชาคริต คิดประเสริฐ,(วปอ. 10087)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคดัยอ เร่ือง ศึกษาแนวโนมและปจจัยทีน่ำไปสูความขัดแยงทางดานความสัมพันธระหวาง ประเทศของ ไทย – กัมพูชา ลักษณะวิชา การทหาร ผูวิจัย พลตรี ชาคริต คิดประเสริฐ หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๖ กัมพูชาเป นประเทศเพื ่อนบานของไทยที ่ม ีพรมแดนติดต อก ัน ม ีความใกล ชิด ทางวัฒนธรรม แตความสัมพันธไทย - กัมพูชา กลับไมราบรื่น เนื่องจากยังคงมีความขัดแยงกันอยู เรื่อยมา ผูศึกษาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาและวิเคราะห ถึงปจจัยตาง ๆ ที่จะนำไปสูความขัดแยง ดานความสัมพันธระหวางประเทศของทั้งสองประเทศ เพื่อหา แนวทางการแกไขปญหาลดความ ขัดแยงและเสริมสรางความสัมพันธอันดีระหวางสองประเทศอยางม่ันคงและยั่งยืน ผูวิจัยไดใชวิธีการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนา โดยศึกษาจากเอกสาร หนังสือ ที่นาเชื ่อถือ และอางอิงได รวมทั้ง ขอมูลท่ีไดจากการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิที่มีความรูและประสบการณเกี่ยวกับ ความสัมพันธ ไทย - กัมพูชา จำนวน ๓ ทาน ซ่ึงผลการวิจัยสรุปไดวา ปจจัยท่ีเปนสาเหตุใหเกิดปญหา ความขัดแยงที่สงผลกระทบตอความสัมพันธระหวาง ไทย - กัมพูชา นับแตอดีตจนถึงปจจุบัน มาจาก เหตุผลทางประวัติศาสตรที่มีอิทธิพลตอความเชื่อและการรับรูของชาวกัมพูชา เหตุผลทางวัฒนธรรม ท่ีชาวกัมพูชาบางกลุมเกรงวาการเผยแพรวัฒนธรรมของไทยที่มากับสื่อตาง ๆ จะเปนการครอบงำ ทางวัฒนธรรมตอชาวกัมพูชา เหตุผลทางการเมือง โดยเฉพาะการตอสูและความขัดแยงทางการเมือง ระหวางกลุ มพรรคการเมืองในกัมพูชา มักจะมีเหตุการณความไมสงบเกิดขึ ้น และมักใชไทย เขาไปเก่ียวของ ในประเด็นทางการเมือง สรางความรูสึกตอชาวกัมพูชาวาไทยเอารัดเอาเปรียบในเรื่อง เสนเขตแดน และเหตุผลทางเศรษฐกิจ ซึ่งหลายชาติรวมทั้งไทยเขาไปลงทุนและทำการคากับกัมพูชา เพื่อเอาประโยชนสวนแบงจากการลงทุนและการคาในความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ กัมพูชาอยางเต็มที่โดยขาดการชวยเหลือ และการพัฒนา ซึ่งกัมพูชามองวาเปนการเอารัดเอาเปรียบ ทางเศรษฐกิจ โดยแนวทางการแกไขปญหาความขัดแยงเหลานี้คือ รัฐบาลไทยจะตองเรงเสริมสราง ความสัมพันธอันดีกับรัฐบาลกัมพูชาอยางจริงจัง โดยยึดหลักพึ ่งพาอาศัยซึ ่งกันและกัน รวมท้ัง การมีผลประโยชนร วมกันของทั ้งสองประเทศ เสริมสรางความสัมพันธที ่ย ั ่งยืนระหวางบุคคล และหนวยงานในทุกระดับ โดยเฉพาะหนวยงานทหาร ที่มีบทบาทอยางมากที่มีสวนในการพัฒนา ความสัมพันธของท้ังสองประเทศอยางม่ันคง และยั่งยืน

abstract:

ข Abstract Title Study the trends and factors leading to conflicts in the relationship between Thailand and Cambodia Field Military Name Major General Chakrit Kidprasert Course NDC Class 66 Cambodia is a neighboring country to Thailand, sharing a common border and close cultural ties. However, the relationship between Thailand and Cambodia has not been smooth, as ongoing conflicts persist. The researcher is interested in studying and analyzing the factors that lead to conflicts in international relations between the two countries. The aim is to identify strategies to mitigate conflicts and foster a stable and sustainable relationship between Thailand and Cambodia. The researcher employed a descriptive research methodology, studying credible and referable documents and books, as well as information obtained from interviews with three experts who have knowledge and experience regarding Thai- Cambodian relations. The research findings conclude that the factors causing conflicts that impact Thai-Cambodian relations, from the past to the present, include historical reasons influencing Cambodian beliefs and perceptions, cultural reasons where some Cambodians fear that Thai cultural dissemination through various media could dominate Cambodian culture, and political reasons, particularly the conflicts and unrest resulting from the struggle between political parties in Cambodia, often involving Thailand in political issues, thereby creating a perception among Cambodians that Thailand exploits border issues. Additionally, economic reasons play a role, as several countries, including Thailand, invest and do business in Cambodia to fully benefit from Cambodia’s abundant natural resources without sufficient assistance and development, leading to a perception among Cambodians of economic exploitation. To resolve these conflicts, the Thai government must promptly and earnestly foster a good relationship with the Cambodian government based on mutual dependence and shared interests of both countries. Efforts should be focused on building sustainable relationships at all levels, from individuals to organizations. Particularly, the military agencies play a significant role in developing a stable and sustainable relationship between the two countries.