เรื่อง: แนวทางการพัฒนาการค้าและการลงทุนรถ EV ของจีนในประเทศไทย,(วปอ.10083)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ชลัช ชินธรรมมิตร์,(วปอ. 10083)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการพัฒนาการค้าและการลงทุนรถ EV ของจีนในประเทศไทย
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายชลัช ชินธรรมมิตร์ หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี 66
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การค้าและการลงทุนรถ EV ของจีน
ในประเทศไทย ศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการลงทุนรถ EV ของจีนในประเทศไทย วิเคราะห์ปัจจัย
ส่งเสริมการค้าและการลงทุนรถ EV ของจีนในประเทศไทย และเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาการค้าและ
การลงทุนรถ EV ของจีนในประเทศไทย โดยสัมภาษ์เชิงลึกผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจากหน่วยงานภาครัฐและ
ภาคเอกชน ผลการวิจัยพบว่า ประเทศจีนมีบทบาทส าคัญอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (EV)
ท่ัวโลก ด้วยการเป็นผู้ผลิตรถยนต์ไฟฟ้ารายใหญ่ท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 50 ของปริมาณยานยนต์ไฟฟ้า
ท่ัวโลก และผลิตรถโดยสารไฟฟ้าและรถบรรทุกไฟฟ้ากว่าร้อยละ 90 ของจ านวนการผลิตของโลก
โครงสร้างพื้นฐานส าหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าสาธารณะของจีนก็มีขนาดใหญ่เทียบเท่ากับที่มีใน
สหรัฐอเมริกา ยุโรป และญี่ปุ่น อีกท้ังประเทศจีนยังเป็นท่ีต้ังของบริษัทยานยนต์ไฟฟ้าช้ันน าหลายแห่ง
เช่น BYD Auto, Guangzhou Automobile Group (GAC), และ Xiaopeng Motors (XPeng) ซึ่งเป็น
ผู้น าในการพัฒนาและนวัตกรรมด้านยานยนต์ไฟฟ้า โดยมณฑลกวางตุ้งเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของ
นวัตกรรมยานยนต์ไฟฟ้าในจีน ซึ่งมีห่วงโซ่อุปทานท่ีสมบูรณ์และเป็นท่ีต้ังของอุตสาหกรรมยานยนต์
ICE และช้ินส่วนประกอบท่ีส าคัญ แนวทางการพัฒนาการค้าและการลงทุนรถ EV ของจีนในประเทศไทย
1) สนับสนุนนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม การออกแบบและบังคับใช้มาตรการภาษีและนโยบายไม่ใช่
ภาษีเพื่อลดการใช้รถยนต์สันดาปภายใน 2) การเปล่ียนแปลงรถบริการสาธารณะ โดยสนับสนุนให้รถ
ทุกประเภทเปล่ียนเป็นเครื่องยนต์พลังงานไฟฟ้า 3) การขยายโครงสร้างพื้นฐาน รัฐบาลควรส่งเสริม
การขยายสถานีบริการชาร์จแบตเตอรี่ยานยนต์ไฟฟ้าให้ครอบคลุมท่ัวทุกพื้นท่ี ซึ่งจะท าให้ประชาชน
เข้าถึงการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าได้ง่ายขึ้นและลดความลังเลในการเปล่ียนมาใช้ยานยนต์ไฟฟ้า 4) การ
จัดการห่วงโซ่อุปทาน ปรับปรุงและจัดการห่วงโซ่อุปทานของยานยนต์ไฟฟ้าโดยเฉพาะแบตเตอรี่
สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาวัตถุดิบใหม่ ๆ และเทคโนโลยีแบตเตอรี่ เพื่อลดการพึ่งพาวัสดุหรือ
เทคโนโลยีเดียวท่ีอาจน าไปสู่ปัญหาคอขวดในอนาคต 5) การสร้างความเช่ือมั่นให้กับตลาดรถยนต์
ไฟฟ้า 6) ประโยชน์จากการลงทุนเทคโนโลยีใหม่เพิ่มทักษะของแรงงานไทยให้สามารถแข่งขันได้ใน
ตลาดโลก ข้อเสนอแนะภาครัฐและภาคเอกชนต้องให้ความร่วมมือในการพัฒนาตามแนวทางโดยมี
เป้าหมายเพื่อส่งเสริมการค้า การลงทุน และการใช้งานรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย พัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐาน เทคโนโลยี และนโยบายท่ีเกี่ยวข้อง รวมถึงพัฒนาฝีมือแรงงานไทยในอุตสาหกรรมนี้
abstract:
ข
Abstract
Title Guidelines for Developing Trade and Investment of Chinese EVs
in Thailand
Field Economics
Name Chalush Chinthammit Course NDC Class 66
This research aimed to study the situation of China's electric vehicle (EV)
trade and investment in Thailand, investigate the problems and obstacles of Chinese
EV investment in Thailand, analyze the factors promoting Chinese EV trade and
investment in Thailand, and propose guidelines for developing Chinese EV trade and
investment in Thailand. In-depth interviews were conducted with relevant
stakeholders from government agencies and the private sector. The research found
that China plays a critical role in the global electric vehicle (EV) industry, being the
largest EV producer, accounting for 50% of global EV production, and producing over
90% of the world's electric passenger vehicles and electric trucks. China's public
charging infrastructure is on par with that of the United States, Europe, and Japan.
Additionally, China is home to several leading EV companies, such as BYD Auto,
Guangzhou Automobile Group (GAC), and Xiaopeng Motors (XPeng), which are
leaders in EV development and innovation. Guangdong province is one of China's EV
innovation hubs, with a complete supply chain and a significant internal combustion
engine (ICE) and auto parts industry. The proposed guidelines for developing Chinese
EV trade and investment in Thailand include: 1) Supporting environmental policies
through tax and non-tax measures to reduce internal combustion engine vehicle
usage, 2) Transitioning public transportation to electric vehicles, 3) Expanding
infrastructure by promoting the expansion of EV charging stations nationwide,
4) Managing the EV supply chain, particularly batteries, and supporting research and
development of new materials and battery technologies, 5) Building confidence in
the EV market, and 6) Benefiting from investing in new technologies to upskill the
Thai workforce for global competitiveness. It is recommended that the government
and private sector collaborate to promote EV trade, investment, and adoption in
Thailand by developing relevant infrastructure, technology, and policies, as well as
enhancing the skills of the Thai workforce in this industry.