เรื่อง: บทบาทของเจ้าพนักงานของรัฐในความผิดอันยอมความได้,(วปอ.10078)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ชนภัทร วินยวัฒน์,(วปอ. 10078)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง บทบาทของเจ้าพนักงานของรัฐในการยุติการด าเนินคดีในความผิด
อันยอมความได้
ลักษณะวิชา การเมือง
ผูว้ิจัย นายชนภัทร วินยวัฒน์ หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี ๖๖
การศึกษาค้นคว้านี้มีวัตถุประสงค์ คือ ๑. เพื่อศึกษาถึงลักษณะความผิดอันยอม
ความได้ของไทย ๒. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะความผิดอาญาของประเทศอังกฤษ ประเทศ
เยอรมนี และประเทศญี่ปุ่น ในส่วนของความยินยอมของผู้เสียหาย และ ๓. เพื่อเสนอแนะแนวทาง
ท่ีจะก าหนดให้เจ้าพนักงานของรัฐมีส่วนร่วมในการยุติการด าเนินคดีในความผิดอันยอมความได้
ของไทย
จากการศึกษาพบว่า ในประเทศอังกฤษ เมื่อผู้เสียหายได้แจ้งความร้องทุกข์แล้ว
ไม่สามารถท่ีจะยุติการด าเนินคดีดังกล่าวได้ ในขณะท่ีในประเทศเยอรมนีและประเทศญี่ปุ่น
ได้ก าหนดให้ความผิดบางประเภทเป็นความผิดอันยอมความได้ แต่กฎหมายยังก าหนดให้เจ้าพนักงาน
ของรัฐมีส่วนร่วมและมีอ านาจในการพิจารณายุติการด าเนินคดีตามความประสงค์ของผู้เสียหาย
เมื่อพิจารณาความผิดอันยอมความได้ของประเทศไทยนั้นจะเห็นได้ว่ายึดถือเจตนาของผู้เสียหาย
เป็นเงื่อนไขในการด าเนินคดี โดยไม่มีบทบังคับให้เจ้าพนักงานของรัฐมีส่วนร่วมในการพิจารณาหรือ
ให้ความเห็นในกรณีผู้เสียหายประสงค์ไมป่ระสงค์จะด าเนินคดี โดยเจ้าพนักงานของรัฐถูกลดบทบาท
ลงเหลือเพียงเป็นผู้ช่วยเหลือผู้เสียหายในคดีเท่านั้น ท าให้การยุติการด าเนินคดีในความผิดอันยอม
ความได้ของประเทศไทยยังไม่สามารถควบคุมกระบวนการยุติการด าเนินคดีได้และไม่สามารถ
น าแนวคิดภายใต้หลักกฎหมายอาญามาใช้เพื่อป้องกันและรักษาความสงบเรียบร้อยให้กับสังคม
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดปัญหาในการบังคับใช้ เพราะพิจารณาเพียงสิทธิในการด าเนินคดี
ของผู้เสียหายเป็นส าคัญ
ดังนั้น จึงน ามาสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายท่ีว่าควรมีเจ้าหน้าท่ีของรัฐเข้ามามีส่วนร่วม
ในกระบวนการยุติการด าเนินคดีอาญา เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายอาญาสอดคล้องต่อหลักการรักษา
ความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีในสังคมควบคู่กับการรักษาสิทธิเสรีภาพของประชาชน
ส่วนบุคคลด้วย
abstract:
ข
Abstract
Title Roles of the Government Officials in the Ending Process of
Compoundable Offenses
Field Politics
Name Mr. Chonnapat Winyawat Course NDC Class 66
The research focuses on three key objectives: studying the nature of Thai
compoundable offenses, comparing them with the criminal offenses in England,
Germany, and Japan in terms of the consent of the injured person, and providing
recommendations for governmental official participation in ending Thai compoundable
offenses.
The findings indicate significant differences in how these countries handle
the termination of criminal proceedings. In England, once a legal complaint is made,
the victim cannot unilaterally end the criminal offense. Conversely, in Germany and
Japan, criminal offenses can be terminated based on the discretion of relevant officials,
allowing for a more flexible approach. In Thailand, the intent of the victim plays a
crucial role in the pursuit of compoundable offenses. Unlike in Germany and Japan,
Thai officials are obligated to end in compoundable cases where the victim chooses
not to pursue legal action. Government officials can only assist upon request and
have no inherent role in the compounding process between the victim and the
wrongdoer. This absence of official involvement can lead to challenges in effectively
ending legal proceedings and enforcing criminal law principles that protect societal
peace and order.
In conclusion, the study recommends that Thai government officials should
participate in the process of ending compoundable offenses. Such participation would not
only align the enforcement of criminal laws with public order principles but also
safeguard the rights and freedoms of individuals. By involving officials, the process
can be better regulated, ensuring that legal proceedings are terminated appropriately
and that societal peace and order are maintained.