เรื่อง: ปัญหาการตีความกฎหมาย : ศึกษาบทนิยม“กลุ่มบุคคล” ในการดำเนินคดีแบบกลุ่ม,(วปอ.10074)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง เจิดจันทร์ แก้วอำไพ,(วปอ. 10074)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง ปัญหาการตีความกฎหมาย : ศึกษาบทนิยาม “กลุ่มบุคคล” ในการด าเนินคดี
แบบกลุ่ม
ลักษณะวิชา การเมือง
ผู้วิจัย นางเจิดจันทร์ แก้วอ าไพ หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี 66
กฎหมายการด าเนินคดีแบบกลุ่มตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพ่ง ฉบับท่ี 26 (พ.ศ.2558) ยังมีปัญหาเรื่องการตีความกฎหมายเกี่ยวกับบทนิยาม
ค าว่า “กลุ่มบุคคล” เพื่อเริ่มต้นการด าเนินคดีแบบกลุ่ม ท่ีแคบกว่าบทบัญญัติของกฎหมายต้นร่างของ
ประเทศสหรัฐอเมริกาคือ Federal Rule of Civil Procedure: Rule 23 ท าให้ในบางกรณีผู้เสียหาย
จ านวนมากยังต้องแยกกันฟ้องร้องด าเนินคดีแบบกลุ่ม
งานวิจัยฉบับนี้ ผู้วิจัยมุ่งศึกษาความเป็นมาในการร่างกฎหมายการด าเนินคดีแบบกลุ่ม
จากรายงานการประชุมของส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เพื่อค้นคว้าประเด็นการร่างกฎหมาย
ของผู้ร่างซึ่งอาจยังมีประเด็นข้อขัดข้องเมื่อปรับใช้กับข้อเท็จจริงในทางปฏิบัติ รวมท้ังได้ท าการศึกษา
กฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยน าข้อกฎหมายรวมท้ังรูปแบบการใช้กฎหมายมาปรับใช้กับ
ข้อเท็จจริงท่ีเกิดขึ้นในประเด็นเรื่องการตีความกฎหมาย ประเทศไทยใช้ระบบการขออนุญาตศาลเพื่อ
เข้าสู่กระบวนการด าเนินคดีแบบกลุ่มเช่นเดียวกับประเทศสหรัฐอเมริกา แต่ในประเด็นเรื่องบทนิยาม
สมาชิกกลุ่ม ซึ่งประเทศไทยแปลความมาจากกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกาท่ีบัญญัติว่า
“ข้อเรียกร้องของกลุ่มท่ีเหมือนกัน” (Typical of Claims) มาเป็นกฎหมายไทยว่า “ลักษณะเฉพาะ
ของกลุ่มเหมือนกัน” จึงเกิดประเด็นปัญหาในการตีความว่า “ลักษณะเฉพาะของกลุ่มเหมือนกัน” นี้มี
ความหมายเพียงใด เป็นไปตามบทนิยาม “ข้อเรียกร้องของกลุ่มท่ีเหมือนกัน” ตามกฎหมายของ
ประเทศต้นร่างหรือไม่
ผู้วิจัยได้เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาในประเด็นเรื่องบทนิยามสมาชิกกลุ่ม ควรเปล่ียนจาก
บทบัญญัติว่า “ลักษณะเฉพาะของกลุ่มเหมือนกัน” เป็น “ข้อเรียกร้องของกลุ่มท่ีเหมือนกัน” และ
หากมีประเด็นในเรื่องค่าเสียหายของผู้เสียหายแต่ละคนท่ีมาจากสิทธิเฉพาะตัวคนละแบบ ก็ควรมี
บทบัญญัติเพิ่มเติมในการให้คู่ความในคดีหรือศาลใช้ดุลพินิจในการแบ่งกลุ่มย่อยในการด าเนินคดีแบบ
กลุ่มอันมีท่ีมาของความเสียหายจากเหตุการณ์เดียวกัน เพื่อแก้ไขปัญหาในเรื่องการวินิจฉัยค่าเสียหาย
ท่ีอาจแตกต่างกันเป็นการเฉพาะตัวได้
abstract:
ข
Abstract
Title The problems of the Legal Interpretation: “Group Members” in
Class Action
Field Politics
Name Mrs.Jerdjan Kaewampai Course NDC Class 66
Class Action Act to amend the Code of Civil Procedre No.26 (2558). There
are issues with the interpretation of the law and filing of a lawsuit to certify a motion
to initiate class action, especially on the issue of the interpretation of “Group
Members” which was different from the word legalize in Federal Rule of Civil
Procedure: Rule 23 of the United States which cause an effect that some of the
injured person have to separate the lawsuit even-though they was injured in the
same situation but they only have distinctive damages.
In this thesis, the researchers aims to study the interpretation of the
Class Action Act from the minutes of the meeting of the “Office of the Council of
State”; the view on the bill of the act, which can be a problem when applied in
practice; In order to see the differences in legal interpretation issues in the United
States using the system to obtain permission of the Court and have norms of the
Court as a guide to the diagnosis of the number of group members by class member
native habitat and connection, including support of the sub-class matter to diagnose
the issues in litigation. In respect of the issue of definition. Thailand legislate “Class
member” from United States as “Typical of Claims” but transforms to “Definitions of
Class Member” so, there is a problems that does Thailand aims to legislate in the
field of “Typical of claims” ?
Researchers have proposed a solution as follows: In the section under
the heading “Defifnitions of Class Members” the provisions should be changed to
“Typical of Claims” Furthermore, in respect of the issue of numerosity, the sub-class
issue should be studied further in the future as the new laws should be amended to
include the diagnosis of cases of minor issues.