เรื่อง: การพัฒนาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการให้บริการของกรมทางหลวงในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ด้วยมุมมอง Outside-In,(วปอ.10070)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย จิระพงศ์ เทพพิทักษ์,(วปอ. 10070)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การพัฒนาขีดความสามารถการให้บริการของกรมทางหลวงในพื้นที่เขต
เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ด้วยมุมมอง Outside-In
ลักษณะวิชา การเมอืง
ผู้วิจัย นายจิระพงศ์ เทพพิทักษ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี 66
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสถานการณ์ปัญหาและอุปสรรคของการ
ให้บริการโครงข่ายทางหลวงในพื้นท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ศึกษาและเปรียบเทียบ
ผลการส ารวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในโครงข่ายทางหลวงในพื้นท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษภาค
ตะวันออก (EEC) กับผลการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรูปแบบ Outside-In และเพื่อศึกษาแนว
ทางการพัฒนาขีดความสามารถการให้บริการของกรมทางหลวงในพื้นท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก
(EEC) ด้วยมุมมอง Outside-In โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มผู้เกี่ยวข้องในรูปแบบ Outside-In
ท่ีมิใช่ผู้ปฏิบัติงานในกรมทางหลวงในพื้นท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ผลการวิจัยพบว่า
ปัญหาและอุปสรรคของการให้บริการโครงข่ายทางหลวงในพื้นท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก
(EEC) มีปัญหาด้านการจราจรติดขัด การใช้พลังงานที่ไม่เพียงพอ การขาดความปลอดภัยและ
กฎระเบียบ การเปล่ียนแปลงทางสังคม เทคโนโลยี และสภาพภูมิอากาศ รวมถึงปัญหาในการบริหาร
จัดการโครงสร้างองค์กรและการจัดสรรงบประมาณท่ีไม่เหมาะสม ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรูปแบบ
Outside-In ยังมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในด้านการปรับปรุงช่องทางส าหรับรถเสีย ป้ายบอกทาง
ท่ีชัดเจนขึ้น การเพิ่มไฟฟ้าแสงสว่าง และการปรับปรุงภูมิทัศน์ของทาง การศึกษาแนวทางการพัฒนา
ขีดความสามารถการให้บริการของกรมทางหลวงในพื้นท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
ด้วยมุมมอง Outside-In โดยเสนอแนวทางการพัฒนาใน 4 มิติ ได้แก่ 1) ระบบทางหลวงท่ีสะดวก
2) ระบบทางหลวงท่ีปลอดภัย 3) ระบบทางหลวงท่ีเช่ือมโยง และ 4) การพัฒนาระบบบริหารองค์กร
ข้อเสนอแนะควรมีการเพิ่มจ านวนและคุณภาพของทางเพื่อแก้ปัญหาการจราจรติดขัดในช่วงเร่งด่วน
ติดต้ังระบบตรวจจับและเตือนการเกิดอุบัติเหตุเพื่อรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินได้อย่างรวดเร็ว
พัฒนาและปรับปรุงโครงข่ายเช่ือมโยงระหว่างเส้นทางหลักและเส้นทางรองเพื่อกระจายการจราจร
และเพิ่มความสะดวกในการเดินทาง ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรให้มีความสามารถในการจัดการ
และบ ารุงรักษาทางหลวงอย่างมืออาชีพ เพื่อช่วยเสริมสร้างความสามารถในการให้บริการของกรม
ทางหลวงในพื้นท่ี EEC ให้มีความทันสมัย ปลอดภัย และสามารถตอบสนองความต้องการของ
ผู้ใช้บริการ
abstract:
ข
Abstract
Title Development of the Service Capacity of the Department of
Highways in the Eastern Economic Corridor (EEC) Using an
Outside-In Perspective
Field Politics
Name Mr. Chirapong Theppithuck Course NDC Class 66
This research aimed to study the situations, problems, and obstacles in
providing highway network services in the Eastern Economic Corridor (EEC) area. It
examined and compared the results of user satisfaction surveys on highway networks
in the EEC with in-depth interviews with relevant stakeholders from an Outside-In
perspective. The study also explored ways to develop the service delivery
capabilities of the Department of Highways in the EEC area from an Outside-In
viewpoint by conducting in-depth interviews with relevant stakeholders who are not
employees of the Department of Highways in the EEC area. The research findings
revealed that the problems and obstacles in providing highway network services in
the EEC area include traffic congestion, insufficient energy usage, lack of safety and
regulations, changes in society, technology, and climate, as well as issues in
organizational management and improper budget allocation. Outside-In stakeholders
also provided additional suggestions, such as improving channels for broken-down
vehicles, clearer signage, increasing lighting, and enhancing the landscape along the
roads. The study proposed four dimensions for developing the service delivery
capabilities of the Department of Highways in the EEC area from an Outside-In
perspective: 1) a convenient highway system, 2) a safe highway system, 3) an
interconnected highway system, and 4) organizational development. The
recommendations include increasing the number and quality of roads to address
urgent traffic congestion, installing accident detection and warning systems for rapid
emergency response, developing and improving the interconnectivity between main
and secondary routes to distribute traffic flow and enhance travel convenience, and
providing training and development for personnel to professionally manage and
maintain highways. These measures aim to enhance the service delivery capabilities
of the Department of Highways in the EEC area, making it modern, safe, and
responsive to user needs.