Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการติดตามและจับกุมผู้ลักลอบใช้ข้อมูลส่วนบุคคลไปก่ออาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ศึกษากรณีแก๊งคอลเซ็นเตอร์,(วปอ.10068)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย จิตชาย มุสิกบุตร,(วปอ. 10068)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการติดตามและจับกุมผู้ลักลอบใช้ข้อมูลส่วนบุคคลไปก่ออาชญากรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ ศึกษากรณี แก๊งคอลเซ็นเตอร์ ลักษณะวิชา การเมือง ผู้วิจัย นายจิตชาย มุสิกบุตร หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 66 ปัจจุบันมีการน าข้อมูลส่วนบุคคลที่เข้าไปท าธุรกรรมในที่ต่างๆ ไปใช้ในทางมิชอบ และขัดต่อกฎหมาย และเป็นอาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่ขัดต่อกฎหมาย หลายฉบับ เช่น พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 และพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 และประมวลกฎหมายอาญา เป็นต้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายต่อประชาชน โดยมีการใช้ วิธีแอบแฝง เช่น ด าเนินการผ่านโทรศัพท์ และวิธีต่างๆ และหลอกให้ประชาชนหลงเช่ือในการ ให้ข้อมูลและท าธุรกรรมไปโดยไม่เจตนา ส่งผลให้เกิดความเสียหายตามมา ซึ่งส่งผลก่อให้เกิด การกระท าความผิดต่อกฎหมายอีกหลายเรื่อง เช่น การกระท าความผิดฐานฉ้อโกง การตีความ เรื่องความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน การยอมความในเรื่องเหล่านี้ ซึ่งน าไปสู่การบังคับใช้กฎหมาย ในการน าตัวผู้กระท าความผิดมาลงโทษ เช่น การส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน ซึ่งมีกระบวนการทางกฎหมาย สนธิสัญญา ข้อตกลงหรือความร่วมมือระหว่างประเทศ และการบังคับใช้กฎหมายในหลายเรื่อง และหลายประเภทเข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งกระบวนการที่จะไปสืบค้นหรือเอาผิดต่อผู้กระท าผิดยังซับซ้อน ยุ่งยาก ท าให้ยังมีอาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส์เกิดข้ึนอย่างต่อเนื่อง แล้วหนีอออกไปจาก ราชอาณาจักรไทย จึงเป็นเหตุให้ผู้วิจัยอยากหาแนวทางติดตามตัวผู้กระท าความผิด ลักลอบใช้ข้อมูล ส่วนบุคคลมาลงโทษให้มีประสิทธิภาพ ไม่ใช้เวลานาน หรือในบางกรณีอาจจะน าตัวมาลงโทษไม่ได้ ดังนั้นการทบทวน กระบวนการกฎหมายที่มีอยู่ รวมถึงสนธิสัญญาที่ในการส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน ที่ประเทศได้ลงนามแล้วยังมีอยู่น้อย จะมีวิธีการอื่นที่สามารถติดตามตัวผู้กระท าความผิดได้หรือไม่ รวมถึงต้องมีการทบทวนบทลงโทษตามกฎหมายที่มีอยู่ต่อผู้กระท าความผิดว่าสมดุลกับความร้ายแรง ที่เกิดจากการกระท าความผิดหรือไม่ เป็นประเด็นที่ผู้วิจัยอยากจะน าเสนอ โดยมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อติดตามปัญหาจากการลักลอบใช้ข้อมูลส่วนบุคคลไปก่ออาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ศึกษา กรณี แก๊งคอลเซ็นเตอร์ซึ่งมีผลต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ซึ่งอยู่ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านความ มั่นคง ซึ่งจะเป็นแนวทางในการปรับปรุงในการด าเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติให้มีประสิทธิภาพ ยิ่งข้ึน 2. เพื่อศึกษา ปัญหา และหาแนวทาง มาตรการ กฎ ระเบียบ ในการปราบปราม หรือลด การก่ออาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 3. เพื่อทบทวน มาตรการทางกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และกระบวนการในการติดตามผู้กระท าความผิดมาลงโทษจากการศึกษาผู้วิจัย พบว่า ปัจจุบัน มีการน าข้อมูลส่วนบุคคลที่เข้าไปท าธุรกรรมในที่ต่างๆ ไปใช้ในทางมิชอบ ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อประชาชน และขัดต่อกฎหมาย ซึ่งเกี่ยวข้องกับ กระบวนการ และประกาศ กฎหมายหลายฉบับ ซึ่งมีปัญหาหลายด้านดังนี้ 1. ปัญหาในเชิงปฏิบัติการ ซึ่งมีทั้ง กระบวนการภายในประเทศ กระบวนการ ประสานงานระหว่างประเทศ การบังคับใช้กฎหมายในการน าตัวผู้กระท าความผิดมาลงโทษ 2. ปัญหา ข ในเชิงนโยบายเพื่อป้องกัน ซึ่งควรมีการจัดตั้งศูนย์การบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง หรือควรมีหน่วยงานเฉพาะในการป้องกันและปราบปราบแก๊งคอลเซ็นเตอร์ในรูปแบบ ของศูนย์ควบคุมสั่งการ 3. ปัญหาในเรื่อง ตัวบทกฎหมายที่ต้องแก้ไขปรับปรุง เช่น ประกาศ กฎ ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่ก ากับดูแล โดยคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ที่จะต้องปรับปรุง แก้ไข เพื่อป้องกันปัญหาตั้งแต่ต้นทาง และพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการมีส่วนร่วมในองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ พ.ศ. 2566 และประมวลกฎหมายอาญาในความผิดฐานฉ้อโกง ที่จะต้องปรับปรังโทษให้สอดคล้องกับการกระท า ความผิดที่เป็นการกระท าความผิดซ้ าซาก หรือก่อให้เกิดความเสียหายต่อคนจ านวนมากและ ให้ถือเป็นความผิดที่เข้าข่ายสามารถขอส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนได้ หรือเป็นความผิดร้ายแรงตาม พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการมีส่วนร่วมในองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ พ.ศ. 2566 หรือเป็นความผิดอาญาฐานฉ้อโกงที่มีอัตราโทษสูงและยอมความไม่ได้

abstract:

ค Abstract Title Guidelines for tracking and apprehending individuals who misuse personal data to commit electronic crimes: A case study of call center gangs Field Politics Name Mr. Jitchai Musikabutr Course NDC Class 66 The research aims ; 1. to study the nature of Thai compoundable offenses Currently, personal data misuse is involved in transactions across various platforms, leading to legal violations and electronic crimes against several laws, such as the Personal Data Protection Act of 2019, the Electronic Transactions Act of 2001, the Computer Crime Act of 2017, and the Criminal Code. This misuse causes significant harm to the public, often through deceptive methods such as phone scams, tricking individuals into unknowingly providing information and performing transactions, resulting in further legal infractions like fraud and public deception. The legal framework involves measures such as extradition, governed by treaties and international agreements, complicating the process of prosecuting offenders who often escape outside Thailand. Therefore, the researcher seeks to find effective and timely methods to track and prosecute offenders using personal data unlawfully. Reviewing existing laws, including extradition treaties that Thailand has signed, exploring alternative methods for tracking offenders, as well as reconsidering the severity of penalties to match the gravity of the offenses are the objectives of this study to: 1. Address issues related to the misuse of personal data for committing electronic crimes, focusing on call center scams affecting economic security under the national security strategy and aiming to enhance its efficiency. 2. Study problems and propose measures, regulations, and guidelines for suppressing or reducing electronic crimes. 3. Review legal measures, regulations, and processes for tracking and prosecuting offenders. The researcher found that misusing personal data in transactions leads to significant harm and legal violations, involving several legal processes and laws. Key issues include : 1. Operational Challenges involving domestic processes, international coordination, and legal enforcement to prosecute offenders. 2. reventive Policy Issues establishing an integrated cooperation center among relevant agencies or a specialized unit to prevent and combat call center scams, possibly in the form of a command-and-control center. 3. Legal Framework Issues involving necessary revisions to announcements, regulations, and laws, such as those governing mobile phone services overseen by ง the National Broadcasting and Telecommunications Commission (NBTC), to prevent issues from the outset, as well as amendments to the Personal Data Protection Act of 2019, the Act on Prevention and Suppression of Participation in Transnational Organized Crime of 2023, and the Criminal Code related to fraud. These should align penalties with repeated offenses or significant harm and classify them as extraditable or serious crimes under the relevant acts.