เรื่อง: แนวทางการบริหารธุรกิจก่อสร้าง ภายใต้บริบทการพัฒนาอย่างยั่งยืน,(วปอ.10067)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย จารุณัฐ จิรรัตน์สถิต,(วปอ. 10067)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เร่ือง แนวทางการบรหิารธุรกิจกอสราง ภายใตบริบทการพัฒนาอยางยั่งยืน
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผวูิจัย นายจารุณัฐ จิรรัตนสถิต หลักสูตร วปอ. รนุที่ ๖๖
งานวิจัยฉบับนี้เปนการศึกษาสถานภาพปจจุบันของการบริหารจัดการธุรกิจกอสรางบน
หลักการการพัฒนาอยางยั่งยืน เพื่อศึกษาและวิเคราะหหาปจจัยที่สงผลตอการบริหารจัดการดาน
สิ่งแวดลอมของภาคธุรกิจกอสราง ผานการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทผลิตภัณฑ ของผลิตภัณฑแผน
คอนกรีตสำเร็จรูป พบวาจุดวิกฤต (Hotspot) ของการผลิตที่เปนจุดสำคัญของการดำเนินงานใน
อุตสาหกรรมการกอสราง คือ การไดมาซึ ่งวัตถุดิบหลัก อันไดแก เหล็กเสนและลวดผูกเหล็ก
ปูนซีเมนต และหิน ซึ่งปลอยกาซเรือนกระจกมากกวารอยละ ๘๐ ของการปลอยกาซเรือนกระจกของ
ผลิตภัณฑทั้งหมด นำไปสูขอเสนอแนะในการบริหารจัดการมิติดานสิ่งแวดลอมที่ควรตองมีการบริหาร
จัดการวัตถุดิบและการสรรรหาคูคาที ่มีศักยภาพ เลือกแหลงวัตถุดิบที ่มีคาคารบอนฟุตพริ ้นท
ผลิตภัณฑที่ต่ำกวาปจจุบัน เพื่อการผลิตสินคาที่มีคาคารบอนฟุตพริ้นทผลิตภัณฑที่ต่ำลง และจากการ
สัมภาษณผูมีสวนไดสวนเสียในภาคธุรกิจกอสราง พบวา หนวยงานตางๆใหความสำคัญกับการพัฒนา
อยางยั่งยืน มีการบริหารจัดการตามหลัก ESG เพราะเห็นความสำคัญของหลักบริหารนี้ และเห็นดวย
ที่จะมีการพัฒนาแนวทางหรือรูปแบบการพัฒนาอยางยั่งยืนสำหรับอุตสาหกรรมกอสรางรวมกัน เชน
การแลกเปลี่ยนความรู รวมทั้งการสงเสริมดานบุคลากรในสวนของการพัฒนาอยางยั่งยืนมิติตาง ๆ
ใหมากยิ่งขึ้น
abstract:
ข
Abstract
Title Guidelines for Sustainable Development in Construction
Business
Field Economics
Name Mr.Jarunat Jiraratsatit Course NDC Class 66
This research is a study of the current status of construction business
management based on the principles of sustainable development. To study and
analyze the factors affecting environmental management of the construction business
sector through evaluating product carbon footprints of sample products which is
prefabricated concrete. A life cycle product carbon footprint of the sample products
found that the material acquisition is the hotspot of production, in the construction
industry, including steel bar and steel wire, cement, and rock. This process releases
more than 80 percent of total product carbon footprint. From the results, we suggest
to focus on the raw material management and the potential business partners
selection and lower carbon footprint of raw material sources. That aims to produce
the lower product carbon footprint. Furthermore, the results of construction business
stakeholders’ interviews, it was found that various organizations realize the importance
of sustainable development. The ESG was implemented in organization management.
They agreed to cooperate develop guidelines or models for the sustainable
development in the construction industry for example: knowledges exchanging, and
personnel development in this area.