เรื่อง: แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพของสหกรณ์ออมทรัพย์ในระบบการเงินไทย,(วปอ.10060)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย จงรัก รัตนเพียร,(วปอ. 10060)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2566
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคดัย่อ
เร่ือง แนวทางการพฒันาการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพของสหกรณ์
ออมทรัพยใ์นระบบการเงินไทย
ลกัษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นาย จงรัก รัตนเพียร หลกัสูตร วปอ. รุ่นท่ี 66
งานวิจยัฉบบัน้ีมุ่งเน้นการศึกษาระบบสหกรณ์ออมทรัพย ์เน่ืองจากมีความส าคญัต่อ
ภาคครัวเรือนทั้งการเป็นแหล่งออมและกูย้ืมเงิน โดยท่ีผ่านมา สหกรณ์ออมทรัพยใ์นไทยมีขนาด
สินทรัพยใ์หญ่ขึ้นและเช่ือมโยงกบัผูเ้ล่นอ่ืนในระบบการเงินมากขึ้น แต่กลบักนัยงัคงมีสหกรณ์ออม
ทรัพยบ์างแห่งท่ีประสบปัญหา น ามาสู่การศึกษาภายใตว้ตัถุประสงค ์3 ขอ้ คือ 1) เพื่อศึกษาบทบาท
และการด าเนินงานของสหกรณ์ออมทรัพย ์ 2) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการด าเนินงาน
ของสหกรณ์ออมทรัพย ์และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการส่งเสริมการจดัการของสหกรณ์ออมทรัพย ์
เพื่อตอบวตัถุประสงคด์งักล่าวขา้งตน้ การศึกษาคร้ังน้ีไดใ้ชว้ิธีการวิจยัเชิงคุณภาพและ
เชิงพรรณา (Qualitative and Descriptive Research) ซ่ึงสามารถสรุปผลการวิจยัไดว้่า สหกรณ์ออม
ทรัพยใ์นไทยมีโครงสร้างท่ีแตกต่างกนัในหลายมิติ เช่น มิติขนาดสินทรัพยแ์ละมิติสภาพคล่อง และ
แมว้่าส่วนใหญ่จะเป็นสหกรณ์เงินทุนเหลือ (Surplus) มีก าไรและผลการด าเนินงานท่ีดี แต่โดยรวม
ยงัพบปัญหาหลายประการ ซ่ึงแบ่งเป็น 3 ระดบั นั่นคือ 1) ปัญหาเชิงโครงสร้าง (ระดบัตน้น ้ า) 2)
ปัญหาในดา้นการบริหารจดัการและการด าเนินการของสหกรณ์ (ระดบักลางน ้ า) และ 3) ปัญหาเชิง
ระบบการตรวจสอบและการก ากบัดูแลกิจการท่ีดี (ระดบัปลายน ้า)
ผูว้ิจยัมองวา่ การแกไ้ขปัญหาขา้งตน้ ควรท่ีจะค านึงถึงโครงสร้างการด าเนินงานของ
สหกรณ์ออมทรัพยท่ี์มีความแตกต่างกนั ดงันั้น การเสนอแนะนโยบายจึงแบ่งเป็น 2 ส่วน ไดแ้ก่ 1)
การเสนอแนะเชิงนโยบายส าหรับภาครัฐซ่ึงจะเป็นการแกไ้ขปัญหาเชิงระบบ อาทิ การยกระดบั
มาตรฐานการติดตามสถานะทางการเงินและการก ากบัดูแล การมุ่งเนน้นโยบายธรรมาภิบาลในการ
ด าเนินงาน การสร้างระบบกลางของฐานขอ้มูลลูกหน้ี การยกระดบันโยบายดูแลสภาพคล่อง รวม
ไปถึงการท านโยบายการลงทุนและการจัดหาแหล่งเงินทุนเป็นการเฉพาะส าหรับกลุ่มสหกรณ์
เงินทุนเหลือและสหกรณ์เงินทุนขาด และ 2) การเสนอแนะแนวทางส าหรับสหกรณ์ออมทรัพย ์ซ่ึง
จะมุ่งเนน้การดูแลและช่วยเหลือลูกหน้ี รวมถึงการให้ความรู้แก่สมาชิก เพื่อให้สหกรณ์ออมทรัพย์
สามารถเป็นกลไกในการส่งเสริมพฒันาการของระบบการเงินไทยท่ีมีประสิทธิภาพมากขึ้นใน
อนาคต
abstract:
ข
Abstract
Title Guidelines for Effective Management of Savings Cooperatives in the
Thai Financial System
Field Economics
Name Mr. Chongrak Rattanapian Course: NDC Class 66
This research aims to study the system of savings cooperatives, given their
significance to households as sources of savings and loans. Thus far, savings cooperatives in
Thailand have experienced growth in asset size and have become increasingly interconnected with
other players in the financial system. However, certain savings cooperatives still face issues. Hence,
this study seeks to achieve three main objectives: 1) to examine the roles and operations of savings
cooperatives; 2) to analyze the problems faced in the operations of savings cooperatives; and 3) to
propose improvements to the management of savings cooperatives.
To meet the objectives, this study has employed qualitative and descriptive research
methods. The research findings reveal that savings cooperatives in Thailand exhibit diverse
structures across various dimensions, particularly in terms of asset size and liquidity. While most
cooperatives possess surplus funds and demonstrate profitability and strong performance, several
persistent issues have been identified. These issues can be categorized into three levels: 1) structural
problems at the upstream level, 2) management and operational problems at the midstream level,
and 3) systemic problems concerning auditing and corporate governance at the downstream level.
To address the issues, the diverse operational structures of savings cooperatives
should chiefly be taken into account. Therefore, policy recommendations are divided into two parts:
1) policy recommendations for the government to address systemic issues. These include enhancing
the standards of financial status monitoring and supervision, implementing governance policies in
operations, creating a central debtor database system, improving liquidity management policies,
and formulating specific investment and funding policies for cooperatives with surplus or deficit
funds; and 2 ) policy recommendations for savings cooperatives which focus on providing debtor
support and assistance, and educating members. These efforts will allow savings cooperatives to
effectively contribute to the future development of the Thai financial system.