Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรของสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม,(วปอ.10058)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี คม วิริยเวชกุล,(วปอ. 10058)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรของส านักงานรัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม ลักษณะวิชา การเมือง ผู้วิจัย พลตรี คม วิริยเวชกุล หลักสูตร วปอ. รุ่นท่ี 66 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนา บุคลากร ของส านักงานรัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม 2. เพื่อศึกษาองค์ประกอบในการพัฒนาบุคลากร ของส านักงานรัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม ให้มีสมรรถนะในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ 3. เพื่อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาบุคลากรของส านักงานรัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม ผลการศึกษาพบว่า 1. ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาบุคลากร ของส านักงาน รัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม ได้แก่ 1.1 ด้านความรู้/การฝึกอบรม ท่ีจ าเป็นในการปฏิบัติหน้าท่ียัง ไม่เพียงพอ 1.2 ด้านการปฏิบัติหน้าท่ีไม่ตรงตามคุณวุฒิ หรือตรงตามต าแหน่ง 1.3 ด้านกระบวนการ และวิธีการท างาน 1.4 ด้านการลาออก/โอนย้ายของบุคลากร 1.5 ด้านเทคโนโลยีและดิจิทัล 1.6 ด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ 1.7 ด้านแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน 1.8 ด้านการปลูกฝังค่านิยม ในการท างานเป็นทีมยังไม่มากเท่าท่ีควร 1.9 ด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ท่ีเกี่ยวข้องกับ การปฏิบัติงาน และ 1.10 ด้านวัสดุอุปกรณ์และสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน 2. องค์ประกอบ ในการพัฒนาบุคลากรของส านักงานรัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม ให้มีสมรรถนะในการปฏิบัติงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ 2.1 ด้านการเสริมสร้างบุคลากรของกระทรวงกลาโหม ให้มีความพร้อม ในการปฏิบัติภารกิจในศตวรรษท่ี 21 2.2 ด้านการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม การต่อต้านการ ทุจริตและประพฤติมิชอบ 2.3 ด้านการเสริมสร้างทักษะด้านดิจิทัลบุคลากรของกระทรวงกลาโหม เพื่อรองรับการปรับเปล่ียนเป็นรัฐบาลดิจิทัล 2.4 ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสภาพแวดล้อม ในการปฏิบัติงานของบุคลากรของกระทรวงกลาโหม เพื่อเสริมสร้างความผูกพันต่ อองค์กร 3. แนวทางในการพัฒนาบุคลากรของส านักงานรัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม ได้แก่ 3.1 ใช้กลไกของ คณะกรรมการก าลังพลในการพิจารณาตัดสินใจในเรื่องส าคัญ ๆ ภายในองค์กร ทางด้านก าลังพล 3.2 การจัดสัมมนา เพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์ และสร้างเครือข่ายภายในและนอกกระทรวง 3.3 มีการปรับโครงสร้างบางต าแหน่งเพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน 3.4 การสนับสนุนให้มีการ ส่ือสารกันภายในทีม 3.5 มุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถของบุคลากรให้เกิดทักษะด้านเทคโนโลยี ดิจิทัล 3.6 การพัฒนาขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติงาน 3.7 ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และยึดมั่น ในสถาบันหลักของชาติ และ 3.8 มีการก าหนดวิสัยทัศน์ในการพัฒนาบุคลากรท่ีชัดเจนในระยะต่อไป ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย มีดังนี้ 1. ด้านนโยบาย มีการก าหนดวิสัยทัศน์ในการพัฒนา บุคลากรร่วมกันในระยะต่อไป 2. ด้านงบประมาณ ควรมีการเพิ่มงบประมาณให้เพียงพอกับความ ต้องการในการพัฒนาบุคลากร ท้ังการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรผ่านการฝึกอบรม และการให้โอกาส ในการศึกษาในหลักสูตรต่าง ๆ 3. ด้านกระบวนการในการบริหารจัดการ การน าพาองค์กรให้เป็น ข องค์กรแห่งการเรียนรู้ การบริหารจัดการภาครัฐให้มีประสิทธิภาพ และถ่ายทอดความรู้ในการอบรม หรือสัมมนาให้กับก าลังพล 4. ด้านเทคโนโลยี การน านวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่มาปรับเปล่ียน รูปแบบการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิผลอย่างเป็นรูปธรรม และพัฒนาปรับปรุงให้ทันสมัย

abstract:

ค Abstract Title Personnel development strategy of the Minister's Office Ministry of Defense Field Politics Name Major General Kom Viriyavejakul Course NDC Class 66 The objectives of this study are 1. to study problems and obstacles in personnel development; of the minister's office Ministry of Defense 2. to study the elements of personnel development of the minister's office Ministry of Defense To have the ability to work efficiently and 3. to suggest guidelines for personnel development of the Minister's Office Ministry of Defense The results of the study found that 1. problems and obstacles in personnel development of the minister's office Ministry of Defense : 1.1 knowledge/training necessary to perform duties is not sufficient 1.2 aspects of performing duties do not meet qualifications or according to the position 1.3 Work processes and methods 1.4 Personnel resignation/transfer 1.5 Technology and digital aspects 1.6 Compensation and benefits 1.7 Work motivation 1.8 The aspect of instilling values in working as a team is not as good as it should be. 1.9 The aspect of laws, rules, regulations related to work operations, and 1.10 The aspect of materials, equipment and the environment in which work is performed. 2. Components in personnel development of the Minister's Office Ministry of Defense To have the ability to carry out work efficiently, including 2.1 strengthening personnel of the Ministry of Defense To be ready to perform missions in the 21st century 2.2 in the area of enhancing morality, ethics, and combating corruption and misconduct 2.3 in enhancing the digital skills of personnel of the Ministry of Defense To support the transformation into a digital government 2.4 in terms of improving the quality of life and working environment of Ministry of Defense personnel. To strengthen commitment to the organization 3. Guidelines for personnel development of the Office of the Minister The Ministry of Defense includes 3.1 using the mechanism of the Personnel Committee to consider and make decisions on important matters within the organization regarding personnel 3.2 organizing seminars to increase knowledge, experience, and build networks within and outside the Ministry 3.3 having Adjusting the structure of some positions to create incentives for work 3.4 Supporting communication within the team 3.5 Focusing on developing the abilities of personnel to have digital technology skills 3.6 Improving morale and morale in Work operations 3.7 instill morality, ethics and adherence to ง the nation's main institutions and 3.8 have a clear vision for personnel development going forward. Policy recommendations are as follows: 1. Policy : A vision for human resource development is set in the next phase. 2. Budget: The budget should be increased to meet the needs of personnel development. Both develop the potential of personnel through training. and providing opportunities to study in various courses. 3. Management process. Leading the organization to be a learning organization Effective public sector management and transfer knowledge in training or seminars to personnel 4. technology Bringing innovation and modern technology to change the operating model for concrete effectiveness. and develop and improve to be modern