Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการความเครียดในศิษย์การบินโรงเรียนการบิน,(วปอ.10057)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, น.อ.ขวัญชาติ ชวนสนิท,(วปอ. 10057)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เร่ือง แนวทางการบริหารจัดการความเครียดของศิษย์การบิน โรงเรียนการบิน ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย นาวาอากาศเอก ขวัญชาติ ชวนสนิท หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๖ การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพ่ือ ๑) ศึกษา ความเครียดของศิษย์การบิน ๒) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดของศิษย์การบิน และ ๓) เพ่ือก าหนดแนวทางการบริหารจัดการความเครียดในศิษย์การบิน รร.การบิน กลุ่มตัวอย่าง คือ ศิษย์การบิน รร.การบิน จ านวน ๘๗ คน เครื ่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบวัด ความเครียดกรมสุขภาพจิต (SPST-20) และการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องกับศิษย์การบินเกี่ยวกับแนว ทางการจัดการความเครียดของศิษย์การบิน เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลในลักษณะที่เป็นข้อความ ใช้การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Interview) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจับ พบว่า ศิษย์การบินมีความเครียดในระดับสูง จ านวน มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๓๒.๕๓ รองลงมาคือ ความเครียดในระดับรุนแรง คิดเป็นร้อยละ ๓๒.๑๘ ล าดับต่อมาคือความเครียดระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๖๙ และความเครียดระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ ๔.๖๐ เป็นล าดับสุดท้าย ปัจจัยที่มีผลต่อความเครียดของศิษย์การบิน พบว่า ปัจจัย ด้านการฝึกอบรมในหลักสูตร มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ๓.๗๐ รองลงมาคือ ด้านการสอบ ค่าเฉลี่ย ๓.๖๒ ด้านสิ่งแวดล้อม ค่าเฉลี่ย ๓.๔๕ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ค่าเฉลี่ย ๓.๔๓ เป็นปัจจัยที่มีผลต่อ ความเครียดของศิษย์การบินน้อยที่สุด นอกจากนี้ผู้เกี่ยวข้องกับศิษย์การบินได้เสนอแนวทางการ จัดการความเครียดโดยการส่งเสริมทั้งในส่วนของครูการบินและศษิย์การบิน เพ่ือลดระดับความเครียด ของศิษย์การบิน รร.การบิน

abstract:

ข Abstract Title Stress Management Guidelines of Student Pilots, Flying Training School Field Military Name Gp.Capt. Khwanchart Chuansanit Course NDC Class 66 This research is a quantitative and qualitative research. The objective of this study were 1) to study the stress of student pilots 2) to study factors that are related to stress of student pilots and 3) to determine the guidelines for stress management in student pilots, the sample group is student pilots of the school 87 persons. The tools used to collect data include the Department of Mental Health's stress measurement form (SPST-20) and the interviews was conducted with 5 persons who related with student pilots about student’s stress management guidelines. Data analysis was conducted through descriptive statistics including averages, percentages, and standard deviations. The results of the analysis found that student pilots have the highest number of high levels of stress, accounting for 32.53 percent, followed by severe stress, accounting for 32.18 percent, followed by moderate stress, 20.69 percent, and low-level stress, accounting for 4.60 percent, as the last order. Factors that affect the stress of student pilots, found that the training in the curriculum had the highest average of 3.70, followed by the examination, an average of 3.62, an average of 3.45, in terms of correlation, the average of 3.43 is a factor that affects the stress of student pilots.