Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการปรับปรุงโครงสร้างกรมท่าอากาศยานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการท่าอากาศยาน,(วปอ.10056)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย เกียรติชัย ชัยเรืองยศ,(วปอ. 10056)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2566
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เร่ือง แนวทางการปรับปรุงโครงสร้างกรมท่าอากาศยาน เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการท่าอากาศยาน ลักษณะวิชา การเมือง ผู้วิจัย นายเกียรติชัย ชัยเรืองยศ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๖ การบริหารจัดการท่าอากาศยานเป็นภารกิจที่มีความส าคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาระบบ การขนส่งทางอากาศและการส่งเสริมเศรษฐกิจของประเทศ ท่าอากาศยานไม่เพียงแต่เป็นศูนย์กลาง การคมนาคมที่ส าคัญ แต่ยังเป็นจุดเชื่อมโยงที่มีผลกระทบต่อการเชื่อมต่อระหว่างประเทศ และการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การขนส่งทางอากาศมีความส าคัญเพ่ิมขึ้นในปัจจุบัน ส่งผลให้ปริมาณผู้โดยสารเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็วภายหลังการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 แต่กรมท่าอากาศยานยังคงประสบปัญหาหลายด้าน เช่น รายได้ที่ไม่เพียงพอ , โครงสร้างองค์กรที่ไม่ ยืดหยุ่นและต้นทุนการให้บริการที่สูง ซึ่งส่งผลให้ต้องมีการปรับปรุงโครงสร้างเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการ การวิจัยนี้มุ่งศึกษาประสิทธิภาพการบริหารจัดการท่าอากาศยานในปัจจุบัน ปัญหาที่เกิดจากโครงสร้างกรมท่าอากาศยานและเสนอแนวทางการปรับปรุงโครงสร้างเพ่ือเพ่ิม ประสิทธิภาพ การศึกษาเน้นไปที่การทบทวนวรรณกรรมยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องและการวิเคราะห์ โครงสร้างองค์กรที่ประสบความส าเร็จในต่างประเทศ รวมถึงการเชื่อมโยงกับทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์ SWOT การบริหารจัดการต้นทุนและ Digital Transformation ตลอดจนการสัมภาษณ์ และแบบสอบถามบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านการบิน ผลการวิจัยพบว่าโครงสร้างองค์กรของ กรมท่าอากาศยานมีจุดแข็งและจุดอ่อนที่ชัดเจนโดยท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากควรใช้โครงสร้าง แบบรัฐวิสาหกิจ ท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารปานกลางควรใช้โครงสร้างรัฐร่วมเอกชน (PPP) และ ท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารน้อยควรปรับเป็นท่าอากาศยานส าหรับการบินทั่วไปเพ่ือประหยัดต้นทุน การวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพยืนยันว่าโครงสร้างองค์กรที่เหมาะสมควรเป็นแบบผสมผสาน (hybrid) เพ่ือรองรับความหลากหลายของท่าอากาศยาน ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายให้รัฐบาล มอบนโยบายให้กระทรวงคมนาคมก าหนดยุทธศาสตร์การบริหารจัดการท่าอากาศยาน โดยใช้รูปแบบ การบริหารที่เหมาะสมตามขนาดและปริมาณผู้โดยสารของแต่ละท่าอากาศยาน รวมถึงการศึกษา ความเป็นไปได้ในการให้เอกชนเข้าร่วมลงทุนและการกระจายอ านาจการบริหารจัดการไปยังท้องถิ่น เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการบริการและตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างเหมาะสม

abstract:

ข Abstract Title Strategies for Improving the Organizational Structure of The Department of Airports to Enhance Airport Management Efficiency Field Politics Name Mr.Kiattichai Chairoangyodha Course NDC Class 66 Airport management is a crucial task for the development of the air transport system and the promotion of the country's economy. Airports are not only important transportation hubs but also key points of international connectivity and tourism industry development. The importance of air transport has increased in recent times, resulting in a rapid rise in passenger volumes following the COVID-19 pandemic. However, the Department of Airports continues to face several issues, such as insufficient revenue, an inflexible organizational structure, and high service costs, necessitating structural improvements to enhance management efficiency. This research aims to study the current efficiency of airport management, identify problems arising from the Department of Airports' structure, and propose structural improvements to enhance efficiency. The study focuses on reviewing relevant literature, strategies, and analyzing successful organizational structures abroad, as well as linking to relevant theories, SWOT analysis, cost management, and digital transformation. Additionally, interviews and questionnaires with aviation personnel were conducted. The research findings reveal that the Department of Airports' organizational structure has clear strengths and weaknesses. Airports with high passenger volumes should adopt a state enterprise model, medium-traffic airports should use a public-private partnership (PPP) model, and low-traffic airports should transition to general aviation airports to reduce costs. Both quantitative and qualitative research confirm that a hybrid organizational structure is suitable to accommodate the diversity of airports. Policy recommendations suggest that the government should mandate the Ministry of Transport to develop management strategies for airports, using appropriate management models based on the size and passenger volume of each airport. This includes exploring the feasibility of private sector investment and decentralizing management to local levels to enhance service efficiency and meet public needs effectively.