เรื่อง: แนวทางการเตรียมความพร้อมกำลังพลของกองทัพบกกัมพูชาในการเข้าร่วมปฏิบัติการรักษาสันติภาพของกองกำลังองค์กรสหประชาชาติ ในอนาคต, (วปอ.10035)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, Maj.Gen. Mao Vibol กัมพูชา, (วปอ.10035)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง แนวทางในการพัฒนาศักยภาพของกองทัพกัมพูชาในการเข้าร่วมปฏิบัติการ
รักษาสันติภาพ
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย พลตรี เหมา วิบูลย์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่65
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของปฏิบัติการรักษาสันติภาพของ
องค์การสหประชาชาติ ศึกษาและวิเคราะห์แนวทางเตรียมกองก าลังรักษาสันติภาพขององค์การ
สหประชาชาติ และประเทศสมาชิก ในเข้าร่วมปฏิบัติการรักษาสันติภาพ และเพื่อเสนอแนวทางการ
พัฒนาศักยภาพกองก าลังของกองทัพกัมพูชาในการเข้าร่วมปฏิบัติการรักษาสันติภาพ ผู้วิจัยได้ก าหนด
ขอบเขตการศึกษาวิจัยด้านเนื้อหาเป็นการศึกษาแนวคิด และหลักการระดับยุทธศาสตร์ แล้วน าข้อมูล
ที่ได้มาท าการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อจ ากัด และแนวทางในการเข้าร่วมปฏิบัติการรักษาสันติภาพของ
องค์การสหประชาชาติโดยสัมภาษณ์เชิงลึกกับตัวแทนของกองทัพจากประเทศสมาชิกที่มีส่วนร่วมใน
ปฏิบัติการรักษาสันติภาพขององค์การสหประชาชาติ แล้วน าเสนอข้อมูลในรูปแบบรายงานวิจัยเชิง
พรรณาน าเสนอแนวคิดใหม่ ๆ ระหว่างการศึกษาข้อมูล ปัญหาที่พบคือเกิดความซับซ้อนของเนื้อหา
และความยากในการรวบรวมข้อมูล ที่เป็นข้อมูลเชิงลึกไม่อาจเปิดเผย หรือหาข้อมูลได้ทันกับห้วง
ระยะเวลาในการท าวิจัย
ผลการศึกษาวิจัย พบว่า 1) ปัจจุบันปฏิบัติการรักษาสันติภาพยังคงด าเนินอยู่ 12 ภารกิจ
มีความซับซ้อนและความหลากหลาย หลายประเทศทั่วโลกให้ความส าคัญ ช่วงชิงโอกาสที่จะเพิ่ม
บทบาทในปฏิบัติการรักษาสันติภาพ พร้อมทั้งก าหนดเป็นยุทธศาสตร์ในการด าเนินการเพื่อให้บรรลุผล
ประโยชน์ในการเข้าร่วมปฏิบัติการรักษาสันติภาพ การเข้าร่วมปฏิบัติการรักษาเป็นโอกาสในการแสดง
ศักยภาพของประเทศทั้งเป็นการพัฒนาความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญของก าลังพล เสริมสร้าง
ทักษะและประสบการณ์และเป็นเกียรติประวัติ ดังนั้นการพัฒนาแนวทางการเตรียมก าลังของกองทัพ
ในแต่ละประเทศให้มีขีดความสามารถตรงกับที่สหประชาชาติต้องการทั้งในปัจจุบันและอนาคต
2) เนื่องจากสหประชาชาติไม่มีศักยภาพด้านก าลังเป็นของตนเอง สหประชาชาติจึงจ าเป็นต้อง
พิจารณาเลือกประเทศที่สามารถเสนอก าลังที่มีความพร้อม เรียกว่าการจัดระบบก าลังส ารองของ
สหประชาชาติ (The United Nations Stand by Arrangements System, UNSAS) ปัจจุบัน
เรียกว่า เป็นระบบกองก าลังเตรียมพร้อมของสหประชาชาติ (The United Nations Peacekeeping
Capability Readiness System : PCRS) ประเทศสมาชิกจะเตรียมความพร้อมอยู่ในประเทศของตน
ทั้งการฝึกอบรมเพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะในการรักษาสันติภาพ ตามมาตรฐานการปฏิบัติและการ
ฝึกอบรม 3) แนวทางการพัฒนาศักยภาพกองก าลังของกองทัพกัมพูชาในการเข้าร่วมปฏิบัติการรักษา
สันติภาพด้านขีดความสามารถโดยจะมุ่งเน้นการสร้างและพัฒนา ความรู้ ทักษะและขีดความสามรถ
และทัศนคติต้องอาศัยการบูรณาการการท างานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการรักษา
สันติภาพโดยตรงเข้าด้วยกัน ข
abstract:
Title Guidelines for Improving Cambodia's Troop's Ability to Participate in
peacekeeping operations
Subject Strategy
Name Major General MAO Vibol Course NDC Class 65
The objective of this research is to study the current state of U.N.
peacekeeping operations. Study and analyze UN peacekeeping force readiness
guidelines and member states. To participate in peacekeeping operations and to
propose ways to improve the capability of Cambodian Armed Forces to participate in
peacekeeping operations. We defined the scope of the content research study as a
study of strategic concepts and principles, and then used the data obtained to
analyze the data, limitations, and guidelines for participating in UN peacekeeping
operations by conducting in-depth interviews with military representatives from
member states participating in UN peacekeeping operations, and then presenting the
data in the form of descriptive research reports presenting new ideas. During the
study of the data. The problem is the complexity of the content and the difficulty of
gathering information, which is an insight that cannot be disclosed or available in time
for the research period.
The results of the study found that: 1) Currently, peacekeeping operations
are still underway in 12 missions with complexity and diversity, with many countries
around the world prioritizing opportunities to increase their role in peacekeeping
operations as well as formulating operational strategies to achieve the benefits of
participating in peacekeeping operations. Participation in treatment operations is an
opportunity to demonstrate the country's potential, both to develop the knowledge
and expertise of the armed forces, to enhance their skills and experience, and to gain
honor. 2) Since the UN does not have its own manpower capability, it is necessary to
consider selecting a country that can offer readiness. Known as the United Nations
Stand by Arrangements System (UNSAS), now known as the United Nations
Peacekeeping Capability Readiness System (PCRS), member states prepare to stay in
their countries for training to perform specific peacekeeping duties. 3) Guidelines for
developing the capability of Cambodian Armed Forces to participate in capability
peacekeeping operations. Knowledge, skills and abilities and attitudes It requires the
integration of agencies directly involved in peacekeeping operations.ค
ค ำน ำ
สหประชาชาติเป็นองค์การระหว่างประเทศที่มีหน้าที่และความรับผิดชอบหลายประการ
และหนึ่งในหน้าที่นั้นก็คือ การธ ารงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระว่างประเทศ (The Maintenance
of International Peace and Security) ซึ่งเป็นองค์กรความร่วมมือพหุภาคีของประชาคมโลก
ที่ได้รับการยอมรับให้เป็นกลไกหลักในการจัดการกับปัญหาความขัดแย้งที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ
และความมั่นคงของประชาคมโลก ความเปลี่ยนแปลงของภัยคุกคามและสภาวะแวดล้อมด้านการ
ปฏิบัติการเพื่อสันติภาพได้ส่งผลให้สหประชาชาติต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบ วิธีการ และเครื่องมือที่ใช้ใน
การรักษาสันติภาพ พร้อมทั้งการเตรียมกองก าลังในเข้าร่วมปฏิบัติการเพื่อรักษาสันติภาพหลาย
ประเด็น
การมีแนวทางในการพัฒนาศักยภาพกองก าลังรักษาสันติภาพให้มีทักษะ ความรู้
ความสามารถ และความช านาญมากขึ้น โดยน าข้อเสนอที่ได้ไปประกอบการพัฒนาในร่างนโยบาย
แนวทางปฏิบัติทางการทหาร ในอนาคต เพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศ ความเปลี่ยนแปลง
ของภัยคุกคามและสภาวะแวดล้อมด้านการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพได้ส่งผลให้สหประชาชาติต้อง
ปรับเปลี่ยนรูปแบบ วิธีการ และเครื่องมือที่ใช้ในการรักษาสันติภาพ และส่งผลกระทบต่อการเตรียม
กองก าลังของกองทัพกัมพูชาในการเข้าร่วมปฏิบัติการเพื่อรักษาสันติภาพ เพื่อไม่ให้กองทัพกัมพูชาต้อง
เสียโอกาสในการเข้าร่วมในการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพในอนาคต ดังนั้น ผู้วิจัยจึงอยากศึกษาเรื่อง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพกองก าลังรักษาสันติภาพของกัมพูชาในการเข้าร่วมปฏิบัติการรักษา
สันติภาพ
พลตรี
(เหมา วิบูลย์)
นักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตร วปอ. รุ่น 65
ผู้วิจัยง
กิตติกรรมประกาศ
งานศึกษานี้ส าเร็จได้ด้วยความช่วยเหลือและความกรุณาจากอาจารย์ที่ปรึกษา
และผู้ทรงคุณวุฒิต่าง ๆ ที่กรุณาให้ความรู้ ค าแนะน า ค าปรึกษาและตรวจแก้ไขจนเสร็จสมบูรณ์ ผู้วิจัย
ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ณ โอกาสนี้
กราบขอบพระคุณคณาจารย์หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๖๕ ที่ได้
เสริมสร้างกระบวนการคิดและวิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ ที่สามารถน าไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
และประเทศชาติ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องของหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรที่ได้ให้
ความสะดวก ให้การสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือด้วยดีตลอดมา
ขอบคุณเพื่อนทุก ๆ ท่านที่คอยช่วยเหลือและให้ก าลังใจแก่กัน
ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผลจากการศึกษาในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ต่อประเทศสมาชิก
ของสหประชาชาติที่ต้องการพัฒนาศักยภาพกองก าลังในการเข้าร่วมปฏิบัติการรักษาสันติภาพ
หากมีข้อบกพร่องประการใด ผู้วิจัยขอน้อมรับและขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย
พลตรี
(เหมา วิบูลย์)
นักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตร วปอ. รุ่น 65
ผู้วิจัยจ
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ก
Abstract ข