Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐเพื่อการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานของผู้ประกอบการเอกชน, (วปอ.10028)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายอาณัติ โชติพัฒนกิจ, (วปอ.10028)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2565
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

เรื่อง แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายด้านการพัฒนาศักยภาพนักเรียนอาชีวะ เพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจในเขตพื้นที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) อย่างยั่งยืน ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย นายวิทวัต ปัญจมะวัต หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 65 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาสภาพและองค์ประกอบการพัฒนาศักยภาพ นักเรียนอาชีวศึกษา ที่ส่งเสริมการผลิตแรงงานสายอาชีพรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจในเขตพื้นที่ EEC อย่างยั่งยืน 2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในและปัจจัยสภาพแวดล้อม ภายนอกที่มีต่อการพัฒนาศักยภาพนักเรียนสายอาชีพในโรงเรียนอาชีวศึกษาในเขตพื้นที่พัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (EEC) และ 3. เสนอแนวทางการพัฒนาศักยภาพนักเรียนอาชีวะในโรงเรียน อาชีวศึกษา เพื่อส่งเสริมการผลิตแรงงานสายอาชีพรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจในเขต EEC อย่างยั่งยืน โดยผู้วิจัยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารสถาบันอาชีวศึกษาจ านวน 15 คน และผู้ประกอบการและ โรงงานอุตสาหกรรม 10 คน และเก็บข้อมูลเชิงปริมาณครูประจ าการในสถานศึกษาอาชีวศึกษา ใน 3 จังหวัดของเขต EEC โดยใช้แบบสอบถาม จ านวน 358 คน ผลการศึกษาพบว่า 1. สภาพและองค์ประกอบการพัฒนาศักยภาพนักเรียนอาชีวศึกษา ที่ส่งเสริมการผลิตแรงงานสายอาชีพรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจในเขตพื้นที่ EEC อย่างยั่งยืน ได้แก่ สภาพแวดล้อมภายใน ประกอบด้วย ประกอบด้วย บุคลากร งบประมาณ วัสดุ/อุปกรณ์ และการ บริหารจัดการ สภาพแวดล้อมภายนอก ประกอบด้วย การเมือง เศรษฐกิจ สังคม/วัฒนธรรม เทคโนโลยี กฎหมาย และสภาพแวดล้อม องค์ประกอบการพัฒนาศักยภาพนักเรียนอาชีวะในเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ได้แก่ ภาวะผู้น า การเตรียมความพร้อมในการท างานและความ หลากหลายทางภาษาและการสื่อสาร ส่วนองค์ประกอบด้านการบริหารจัดการองค์กรที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาศักยภาพนักเรียนอาชีวะในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ประกอบด้วย การ บริหารเชิงระบบ (IPO) การบริหารจัดการโดยใช้ Business Model Canvas และการประยุกต์ใช้ แนวคิดเชิงระบบของธนาคารโลกในการยกระดับคุณภาพการอาชีวศึกษา 2. ปัจจัยสภาพแวดล้อม ภายในที่ส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพนักเรียนสายอาชีพในโรงเรียนอาชีวศึกษาในเขตพื้นที่พัฒนา พิเศษภาคตะวันออก (EEC) ประกอบด้วย ปัจจัยด้านบุคลากร ปัจจัยด้านวัสดุ/อุปกรณ์ และปัจจัย ด้านการบริหารจัดการ ในขณะที่ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกที่ส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพนักเรียน สายอาชีพในโรงเรียนอาชีวศึกษาในเขตพื้นที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ประกอบด้วย ปัจจัย ด้านการเมือง ปัจจัยด้านเทคโนโลยี ปัจจัยด้านกฎหมาย และปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม และ 3. แนวทางการพัฒนาศักยภาพนักเรียนอาชีวะในโรงเรียนอาชีวศึกษา เพื่อส่งเสริมการผลิตแรงงาน สายอาชีพรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจในเขต EEC อย่างยั่งยืน โดยแบ่งบทบาท หน้าที่ของหน่วยงาน ต่าง ๆ ออกเป็น 3 ส่วน คือ บทบาท รัฐบาลโดยกระทรวงศึกษาธิการ ส านักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษาและสถานศึกษาอาชีวศึกษาก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐเพื่อการพัฒน าประสิทธิภาพ การด าเนินงานของผู้ประกอบการเอกชน ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้วิจัย นายอาณัติ โชติพัฒนกิจ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 65 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของภาคเอกชนในการด าเนิน ธุรกิจปัจจุบัน วิเคราะห์ข้อมูลภาครัฐและธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ และ เสนอแนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐในการน าไปใช้ประโยชน์ของผู้ประกอบการเอกชน โดยการ สัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบูรณาการข้อมูลภาครัฐทั้งภาครัฐบาลและผู้ประกอบการ เอกชน ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาและอุปสรรคของภาคธุรกิจเอกชนในปัจจุบัน ประกอบด้วย 1) การ เปลี่ยนวัฒนธรรมการท างานภายในองค์กรการท างานที่มีคนต่าง Generation ในการท างานร่วมกัน กับกระบวนการท างานที่เปลี่ยนแปลงไปอาจเกิดการต่อต้านและไม่ยอมรับเทคโนโลยี 2) ปัญหาเรื่อง คุณภาพของข้อมูลที่แต่ละองค์กรมีความแตกต่างกัน เทคโนโลยีอาจจะเข้ามาช่วยแก้ไขให้ได้ในระดับ หนึ่ง แต่สุดท้ายแต่ละองค์กรจะต้องออกแบบแนวทางการแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง 3) ปัญหาด้านการ ขาดบุคลากรที่มีความพร้อมในการขับเคลื่อนข้อมูลหรือการน าข้อมูลมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ท าให้ ระบบการศึกษาปรับตัวไม่ทัน จึงเกิดปัญหาการขาดแคลนบุคลากรในตลาดแรงงานด้าน Digital Technology 4) ปัญหาการเข้าไม่ถึงข้อมูลที่มีความส าคัญต่อการบริหารงานซึ่งอาจสืบเนื่องมาจาก การไม่เคยเก็บข้อมูล หรือการมีงบประมาณจ ากัดในด้านการลงทุนอุปกรณ์เพื่อท าการเก็บข้อมูล ท าให้ องค์กรขาดศักยภาพในการแข่งขันได้ โดยปัจจัยสู่ความส าเร็จในการขับเคลื่อนการพัฒนาฐานข้อมูล ภาครัฐ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย 1) การพัฒนาด้านบุคลากร การเพิ่ม ประสิทธิภาพของบุคลากรและประชาชนให้มีทักษะความสามารถด้านดิจิทัล รวมถึงทัศนคติในการ ปรับตัวและใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเท่าทันจึงเป็นประเด็นที่ส าคัญสูงสุด 2) การพัฒนา กระบวนงาน ขั้นตอนการท างานภายในของรัฐและกระบวนการด าเนินงานเพื่อให้บริการแก่ ผู้รับบริการมีความสะดวกและรวดเร็วมากขึ้นได้3) การพัฒนาและปรับใช้เทคโนโลยีการเลือกลงทุน ในเทคโนโลยีที่คุ้มค่ามีความง่าย สะดวกในการใช้งานข

abstract:

Title Guidelines for integrating government data for improving operational efficiency of private entrepreneurs Field Science and technology Name Arnut Chotipattanakij Course NDC Class 65 This study aimed to study the problems and obstacles of the private sector in the current business, analyze government data and governance, government data for economic development, and propose guidelines for integrating government data for the benefit of private entrepreneurs. The in-dept interview from stakeholders in the integration of government information, both the government sector and private entrepreneurs. The results revealed that the problems and obstacles in the private sector at present include: 1) The change in work culture within the organization, working with people from different generations. In working together with the changing work process, there may be resistance and rejection of technology. 2) The data quality problem that each organization has is different, technology may help solve it to a certain extent, but in the end, each organization must design their own solutions.3) The problem of lack of personnel who are ready to drive data or use data to benefit, making the education system unable to adapt. Therefore, there is a problem of a shortage of personnel in the labor market in the field of digital technology. 4) The problem of inaccessibility of information that is important to management may be due to never collecting data or having a limited budget in investing in equipment for collecting data this causes the organization to lack competitiveness potential. The success factors in driving the development of government databases to be effective include: 1) Personnel development, increasing the efficiency of personnel and people to have digital skills, including attitudes to adapt and use Keeping up-to-date with digital technology is therefore a top priority. 2) Development of work procedures, internal work procedures of the government and operational processes to provide services to service users more conveniently and quickly. 3) Technology development and deployment, selection of investments in cost-effective technologies that are easy to use.ข Abstract Title The guidelines for driving policy on developing the potential of vocational students to support sustainable economic development in the Eastern Economic Corridor (EEC) Field Economics Name Mr. Vitwat Panjamawat Course NDC Class 65 The objectives of this research are 1) to study the conditions and components of developing the potential of vocational education students that promotes the production of vocational labor to support sustainable economic development in the EEC area 2) analyze the relationship of internal environmental factors and external environmental factors towards the development of vocational student potential in vocational schools in the Eastern Economic Corridor (EEC) and 3) propose guidelines for developing the potential of vocational students in vocational schools to promote the production of vocational labor to support sustainable economic development in the EEC area. The researcher used in-depth interviews with 15 administrators of vocational education institutions and 10 entrepreneurs and industrial plants, and using questionnaires to collected quantitative data of 358 teachers in vocational education institutions in 3 provinces in the EEC area. The results of the study showed that: 1) conditions and components of potential development of vocational education students that promotes the production of vocational labor to support sustainable economic development in the EEC area, including the internal environment, consisting of personnel, budget, materials/equipment and management. The external environment includes politics, economics, society/culture, technology, law, and the environment. Components for developing the potential of vocational students in the EEC include leadership, work preparation, language and communication diversity. While the organizational management components related to the development of the potential of vocational students in the EEC consists of systems management (IPO, Business Model Canvas and the application of the World Bank's systems concepts to raise Vocational education quality level. 2) Internal environmental factors that affect the potential development of vocational students in vocational schools in the EEC include man factors, material/equipment factors and management factors. Meanwhile, external environmental factors that affect the potential development of vocational students in vocational schools in the EEC include political factors, technology factors, legal ค factors and environmental factors and 3) guidelines for developing the potential of vocational students in vocational schools to promote the production of vocational labor to support sustainable economic development in the EEC area by dividing the roles and responsibilities of various agencies into 3 parts as the role of the government through the Ministry of Education, Office of the Vocational Education Commission and Vocational Educational Institutions.ง