Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ศาลรัฐธรรมนูญกับคำวินิจฉัยว่าด้วยหลักนิติธรรม

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย เชวง ไทยยิ่ง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรืÉอง ศาลรัฐธรรมนูญกบัตาํวนิิจฉยัวา่ ดว ้ ยหลกันิติธรรม ลกัษณะวชิาการเม ื อง ผวู้ิจยั นายเชวงไทยยงÉิ หลกัสูตรวปอ. รุ่นทÉี๕๖ ตามทีÉศาลรัฐธรรมนูญไ ด้มีคําวินิจฉัยทีÉ๑ ๕-๑ ๘/๒ ๕๕๖ และคาํวินิจฉัยทีÉ๑ / ๒๕๕๗ โ ดยได้นาํ หลกั “นิติธรรม” ตามบทบญั ญตัิในมาตรา ๓ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกัรไทย พุทธศกัราช ๒๕๕๐ ศาลรัฐธรรมนูญมีอาํ นาจโดยตรงวินิจฉัยการซึÉงกระทาํ ใด เพืÉอล้มล้างการปกครองใ นระบอบประชาธิปไ ตยอันมีพระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุขตาม รัฐธรรมนูญนีÊ หรือเพืÉอใ ห้ได้มาซึÉงอาํ นาจในการปกครองประเทศโ ดยวิธีการซÉึงมิได้เป็ นไปตาม วถิีทางทีÉบญั ญตัิไวใ้นรัฐธรรมนูญ อนัเป็นการใช้สิทธิพิทกัษร์ัฐธรรมนูญตามมาตรา๖๘ วรรคสอง โ ดยตรง ซึÉงเป็ นการตีความภายใตห้ลกันิติธรรมทÉียึดในเจตนารมณ์และวตัถุประสงคใ์นการจดัให้มี องค์กรตรวจสอบความชอบดว้ยรัฐธรรมนูญใ นรูปแบบศาลรัฐธรรมนูญทัวไป É ทีÉศาลรัฐธรรมนูญมี หน้าทีÉพิทกัษ์ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ และภายใตห้ลกัเดียวกนันÊีศาลรัฐธรรมนูญ วนิิจฉยั“ในการปกครองในระบอบประชาธิปไตยเสียงขา้งมากตอ้งรับฟังเสียงขา้งน้อยและไม่อาจ ละเลยสิทธิประโ ยชน์ทีÉตอ้งจดัสรรให้แก่เสียงขา้งน้อยอย่างเป็นธรรม หากเสียงขา้งมากใช้ความ ไดเ้ปรียบจากการถือเสียงขา้งมากกระทาํโดยไม่รับฟังความคิดเห็นของเสียงขา้งนอ้ย หรือฟังความ คิดเห็นเพียงพอให้เป็นแบบพิธีเท่านÊนั การถือเสียงขา้งมากโดยไม่เคารพต่อเสียงขา้งน้อยดงักล่าว ยอ่ มกลายเป็นเผด็จการรูปแบบหนึÉงทีÉเรียกวา่ เผด็จการโดยเสียงขา้งมากหรือเผด็จการทางรัฐสภาอนั เป็ นรูปแบบการปกครองซึÉงขดัต่อหลกัการปกครองระบอบประชาธิปไตยรวมทÊงัทาํลายสารัตถะ และความชอบธรรมของกระบวนการนิติบญั ญตัิทÉีจะตอ้งผ่านการพิจารณาจากผูแ้ทนของปวงชน ชาวไทยโดยรอบคอบและละเอียดถีÉถว้น “เพืÉอศึกษาวิเคราะห์ถึงแนวคิดของศาลรัฐธรรมนูญในการ วางหลักนิติธรรมใ นบริบทสังคมไทย” การตีความหลกันิติธรรมตามคาํวินิจฉัยทÊงสองเป็ นไปโ ดย ั สอดคลอ้งกบัแนวคิดในหลกัสากลหรือไม่ ผูว้ิจัยเห็นว่า การทÉีศาลกําหนดบทบาทหน้าทีÉของศาลรัฐธรรมนูญใ นรู ปศาล ชาํนาญการพิเศษ ในวธิีบญั ญตัิกาํหนดเขตอาํนาจไวอ้ยา่ งชดัเจนว่าเป็นองคก์ รทÉีทาํหนา้ทีÉตรวจสอบ ความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ (Judicial Review) เป็ นองค์กรทีÉมีอาํนาจเต็มในการคุม้ ครองรัฐธรรมนูญ ในระบอบการปกครองประชาธิปไตยอนัมีพระมหากษตัริยเ์ป็นประมุข การกาํหนดบทบาทหน้าทีÉ อย่างเช่นว่านÊีมีความจาํ เป็นเนืÉองจากการยึดถือการถ่วงดุลอาํ นาจสามฝ่ายตามแนวคิดดงเดิมนั ัÉ Êน ข ปรากฏวา่ อาํนาจบริหารและนิติบญั ญตัิมกัจะส่งมือต่อกนัและกนั (ร่วมมือ) ไม่มีการถ่วงดุลระหวา่ ง อาํนาจอธิปไตยกนัอยา่ งแทจ้ริงซÉึงปรากฏในหลายประเทศ ส่วนในเนืÊอหาสาระบญั ญตัิศาลไดห้ยิบ ยกหลกันิติธรรมมาเป็นบทอาศยัอาํ นาจการตีความรัฐธรรมนูญเป็นไปตามแนวคิดในระบอบการ ปกครองประชาธิปไตย ทีÉจะต้องเป็ นไปทัÊงใ นรูปแบบเนืÊอหาโ ดยมีแนวคิดทางทฤษฎีกฎหมาย ธรรมชาติ ทีÉให้ความสําคญั ในเจตนารมณ์และวตัถุประสงค์ควบคู่กบั บทบญั ญตัิในทางกฎหมาย ซึÉงจากคาํวินิจฉยัทÊงัสองจะเห็นวา่ การดาํ เนินการตามกระบวนการของบทบญั ญตัิในกฎหมาย หาก ไม่สอดคลอ้งกบั สาระอนัแทจ้ริงของระบอบประชาธิปไตยแล้วการกระทาํ ดงักล่าวเป็นการขดัต่อ หลกันิติธรรม แต่อยา่ งไรก็ตามอาํนาจของศาลรัฐธรรมนูญในการตีความหลกันิติธรรมมีจุดอ่อนคือ จะตรวจสอบอํานาจหรือสร้างระบบถ่วงดุลอํานาจศาลรัฐธรรมนูญอย่างไรเพืÉอไ ม่ใ ห้ศาล รัฐธรรมนูญตีความหลกันิติธรรมไปอยา่ งไม่มีขอบเขตหรือตีความตามอาํ เภอใจ ผู้วจิยัเสนอแนะในสองประการคือ ๑ . สร้างกระบวนการคัดสรรตุลาการศาลรัฐธรรมนูญใ ห้ได้มาซึÉงผูท้Éีมีความรู้ ความสามารถ มีความสุจริต มีความกลา้หาญในวิชาชีพ มีประวตัิการปฏิบตัิหน้าทีÉอยูใ่ นกรอบแห่ง ศีลธรรมเป็นผทู้Éีไดร้ับการยอมรับในทางวิชาการดา้นกฎหมายและการเมืองการปกครอง ๒. กาํ หนดกรอบการปฏิบตัิหน้าทÉีของศาลรัฐธรรมนูญ เฉพาะการตรวจสอบ ความชอบดว้ยรัฐธรรมนูญเท่านÊนั

abstract:

0