เรื่อง: แนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ผ่านการส่งเสริมและพัฒนาภูมิปัญญาผ้าไทย ภายใต้นโยบายการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้และสวมใส่ผ้าไทย, (วปอ.10021)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์, (วปอ.10021)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง แนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากผ่านการส่งเสริมภูมิปัญญาผ้าไทย
ภายใต้นโยบายการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้และสวมใส่ผ้าไทย
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๕
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการส่งเสริมและพัฒนาภูมิปัญญาผ้าไทย และนโยบาย
การส่งเสริมและสนับสนุนการใช้และสวมใส่ผ้าไทย เพื่อศึกษาวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรคในการ
ด าเนินงานส่งเสริมและพัฒนาภูมิปัญญาผ้าไทยในพื้นที่ และเพื่อเสนอแนวทางเพื่อพัฒนางานในการ
พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากอย่างยั่งยืน ผ่านการส่งเสริมภูมิปัญญาผ้าไทย เป็นการศึกษาการด าเนินงาน
ของกรมการพัฒนาชุมชนที่ผ่านมา โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาเอกสาร วิเคราะห์ข้อมูล และ
การสัมภาษณ์เชิงลึก
ผลการวิจัยพบว่า การด าเนินการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากในปัจจุบันเป็นนโยบายส าคัญ
ของรัฐบาล ได้ก าหนดจัดสรรงบประมาณด้านการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากไว้อย่างต่อเนื่อง
มีหน่วยงานร่วมกันขับเคลื่อน กว่า 30 หน่วยงาน ใน 7 กระทรวง รวมถึงกรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทยโดยมีการด าเนินการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากผ่านการส่งเสริมและพัฒนา
ภูมิปัญญาผ้าไทย ใน 2 กลไก คือผ่านกลไกการด าเนินงานโครงการหนึ่งต าบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ และ
ผ่านกลไกลการด าเนินงานนโยบายการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้และสวมใส่ผ้าไทย โดยมีผลของ
การด าเนินงานที่มีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ที่ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้สู่คนในชุมชน
การหมุนเวียนของเศรษฐกิจในระดับพื้นที่ โดยสร้างรายได้จากการจ าหน่ายมากกว่าสี่หมื่นล้านบาทต่อปี
และมีแนวโน้มที่ดีขึ้น รวมถึงมีภาคส่วนอื่นๆ ในระบบเศรษฐกิจฐานรากที่เกี่ยวข้องได้รับประโยชน์
ทั้งต้นน้ า กลางน้ า ปลายน้ า รวมถึงได้มีผลต่อสังคม ท าให้เกิดการตื่นตัวในการสวมใส่ผ้าไทยในวงกว้าง
และส่งผลต่อการพัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ และภาคส่วนที่เกี่ยวข้องให้มีความตื่นตัวในการพัฒนา
ตนเองให้มีความรู้ความสามารถมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ยังมีปัญหา อุปสรรค ในการด าเนินงานส่งเสริม
และพัฒนาภูมิปัญญาผ้าไทยในพื้นที่ โดยสรุปได้ 6 ด้าน คือ ปัญหาด้านผู้ผลิต ผู้ประกอบการ ปัญหา
ด้านการผลิต ปัญหาด้านผลิตภัณฑ์และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ปัญหาด้านการตลาด/ช่องทางการจัด
จ าหน่าย/การประชาสัมพันธ์ ปัญหาด้านราคาที่สูง ยากต่อการเข้าถึง ปัญหาด้านภาพลักษณ์ของผ้าไทย
จากผลการศึกษาด้านต่างๆข้างต้น เพื่อเป็นการหาแนวทางเพื่อพัฒนางาน จึงได้จัดท า
เป็นข้อเสนอแนวทางเพื่อพัฒนางานในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากอย่างยั่งยืน ผ่านการส่งเสริมภูมิปัญญา
ผ้าไทย โดยเสนอในรูปแบบ Spinning Wheel Model หรือ ตัวแบบเครื่องปั่นด้าย แสดงรูปแบบแนวทาง
เพื่อพัฒนางานในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากอย่างยั่งยืน ผ่านการส่งเสริมภูมิปัญญาผ้าไทย
ซึ่งเปรียบเทียบซี่ของกงล้อแต่ละซี่นั้นเป็นเสมือนแนวทางเพื่อพัฒนางานในแต่ละด้าน ทั้ง 7 ด้าน
ประกอบด้วย การส่งเสริมการใช้และสวมใส่ผ้าไทยที่ต่อเนื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์และผู้ประกอบการ
การพัฒนาลายผ้า การพัฒนาด้านการตลาด การเสริมสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการ การส่งเสริมข
การวิจัยและการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยเพื่อพัฒนาตลาดและผลิตภัณฑ์ และการต่อยอดสู่การ
ผลักดันเป็นนโยบายการส่งเสริมและพัฒนาภูมิปัญญาผ้าไทยให้เป็นหนึ่งใน Soft Power ของประเทศ
นอกจากนี้ เพื่อต่อยอดและสนับสนุนแนวคิดตามข้อเสนอข้างต้น ได้ศึกษาวิเคราะห์
บทเรียนและประสบการณ์จากต่างประเทศ คือนโยบาย Cool Japan ของประเทศญี่ปุ่น เพื่อเป็น
ตัวอย่างของการด าเนินการและสามารถน ามาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก
อย่างยั่งยืน ผ่านการส่งเสริมภูมิปัญญาผ้าไทย ในขั้นต่อไปในระดับที่ใหญ่ขึ้นหรือระดับต่างประเทศ
ซึ่งจากประสบการณ์ในนโยบายดังกล่าว สามารถน าแนวคิดมาประยุกต์ใช้กับการส่งเสริมให้เกิดอุปสงค์
จากภายนอกประเทศ (External or Foreign Demand) ให้กับผ้าไทยและการผลักดันนโยบายการ
ส่งเสริมและพัฒนาภูมิปัญญาผ้าไทยให้เป็น Soft Power ของไทยได้ในอนาคต โดยต้องมีการด าเนิน
นโยบายที่รอบด้าน ให้ความส าคัญกับนโยบายนี้เป็นหนึ่งในนโยบายหลักของประเทศ มีผู้น าการ
ด าเนินการที่ชัดเจน การท างานร่วมกันในรูปแบบ All Thailand แต่ต้องมีการศึกษาและปรับให้เข้ากับ
บริบทของไทย รวมถึงการก าหนดยุทธศาสตร์และโครงการต่าง ๆ และสิ่งที่ส าคัญคือ ความต่อเนื่องของ
นโยบายเพื่อให้นโยบายได้ปรากฏภาพความส าเร็จที่รออยู่ในอนาคต ต้องวางต าแหน่งนโยบายสร้าง
Soft Power ของประเทศ ให้เป็นการลงทุนภาครัฐที่ส าคัญ ซึ่งจะส่งผลดีต่อการพัฒนาประเทศ
ในหลายด้าน รวมถึงต่ออุตสาหกรรมผ้าไทยได้อย่างยั่งยืน
สุดท้าย ได้มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการวิจัยในครั้งนี้ โดยในข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการ
สามารถน าผลการศึกษาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนางานได้ในหลายระดับ ทั้งในระดับรัฐบาล
กระทรวง กรม หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภาคี เครือข่าย ภาคเอกชน วิชาการ ประชาชน และผู้ผลิต
ผู้ประกอบการ ต่อมาในข้อเสนอแนะในระดับนโยบาย ควรมีความต่อเนื่องในการก าหนดนโยบายให้
เป็นหนึ่งในการลงทุนระยะยาวที่รัฐบาลควรให้ความส าคัญควบคู่ไปกับการลงทุนในด้านอื่น ควรมีแผน
ยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมและพัฒนาภูมิปัญญาผ้าไทย และภาคส่วนที่เกี่ยวข้องควรท างานร่วมกัน
เป็นทีม เชื่อมโยงภาครัฐและเอกชน และข้อเสนอแนะส าหรับการศึกษาในครั้งต่อไป ควรศึกษาเชิง
ปริมาณร่วมกับเชิงคุณภาพ รวมถึงควรศึกษาการด าเนินการของหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้
ได้ผลและมุมมองที่กว้างขึ้น ค
abstract:
Title Guidelines for the development of the local economy through the
promotion of Thai fabric wisdom under the policy of promoting
and supporting the use and wearing of Thai fabrics
Field Economics
Name Mr. Unsit Sampuntharat Course NDC Class 65
The purposes of this research were; 1) to study the promotion and
development of Thai fabric wisdom and the policy of promoting and supporting the
use and wearing of Thai fabrics, 2) to study and analyze the problems and obstacles
in the promotion and development of Thai fabric wisdom in Thailand, 3) To propose
guidelines to develop sustainable grassroots economic development through the
promotion of Thai fabric wisdom. This research was a study of the past operations of
the Community Development Department by using a qualitative research approach,
study from documents and in-depth interviews.
The results show that the implementation of grassroots economic
development is an important policy of the government. The government has
continuously allocated a budget for the development of the local economy. There
are thirty agencies in seven ministries, including the Community Development
Department, and Ministry of Interior, that have worked together to implement this
policy. There are two mechanisms for developing the foundation economy through
the promotion and development of Thai fabric wisdom. The first is the One Tambon
One Product implementation mechanism. The second is the policy of promoting and
supporting the use and wearing of Thai fabrics. The result of the implementation of
this policy on the development of the local economy is to create jobs and generate
income for people in the community; drive the economic system at the local level
by generating more than forty billion baht per year from selling products with
continual increase. In addition, other relevant sectors in the grassroots economy
benefited from this policy. In terms of impact on society, this policy resulted in the
trend of wearing Thai fabrics in a wide area and resulted in the encouragement of
manufacturers, entrepreneurs and relevant sectors to be more aware of selfimprovement to have more knowledge and competence.
However, there are some problems and obstacles in the promotion and
development of Thai fabric wisdom, which can be summarized in 6 aspects as the ง
entrepreneurial producer problems, the production problems, the product issues and
product development, the marketing/distribution channels and public relations
problems, high price problem, and the image of Thai fabrics problems.
In addition, the researcher has prepared a guideline for the sustainable
development of the local economy through the promotion of Thai fabric wisdom by
presenting it in the form of a Spinning Wheel Model. This model demonstrates
a guideline for work improvement in sustainable local economy development
through the promotion of Thai fabric wisdom by comparing the spokes of each
wheel as a guideline for work development in each of the 7 aspects. These aspects
of this model are; 1) promoting the use and wearing of Thai fabrics, 2) product and
entrepreneurship development, 3) the development of fabric patterns, 4) marketing
developments, 5) enhancing entrepreneurial networks, 6) conducting research and
the utilization of research to develop markets and products, and 7) the supporting of
the wisdom of Thai fabrics policy to become the one of Thailand's soft powers
policy.
In addition, the researcher has studied and analyzed lessons and
experiences from foreign countries, the Cool Japan policy of Japan, to be an
example of action and can be applied as a guideline for sustainable local economic
development through the promotion of Thai fabric wisdom in the next step at an
international level.
Finally, there are some suggestions about this research. Firstly, in the
operational recommendations, the results of this study can be used for work
development at various levels, including government, ministries, departments,
relevant agencies, alliances, networks, private sectors, academics, producers and
entrepreneurs.
Secondly, the recommendation at the policy level, the government
should continually formulate policies as one of long-term investments along with
investments in other areas. In addition, the government should have a strategic plan
to promote and develop Thai fabric wisdom and related sectors should work
together as a team and connect the public and private sectors.
Thirdly, in the suggestions for further studies, the researcher should
combine quantitative and qualitative studies and should study the actions of other
relevant agencies to obtain results and a broader perspective.จ