Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาระบบการดำเนินคดีอาญาในชั้นก่อนฟ้อง เพื่อคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน, (วปอ.10020)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายอรรถการ ฟูเจริญ, (วปอ.10020)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2565
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการพัฒนาระบบการดําเนินคดีอาญาในชั้นกอนฟอง เพื่อคุมครอง สิทธแิละเสรีภาพของประชาชน ลักษณะวิชา การเมือง ผูวิจัย นายอรรถการ ฟูเจริญ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 65 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสถานการณของปญหาและอุปสรรคระบบดําเนิน คดีอาญาไทย เพื่อวิเคราะหการจัดการความรูกระบวนการสอบสวนคดีอาญาในระบบงานยุติธรรม และเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาระบบการดําเนินคดีอาญาในชั้นกอนฟอง เพื่อคุมครองสิทธิและ เสรีภาพของประชาชน โดยการสัมภาษณเชิงลึกจากผูเชี่ยวชาญ ไดแก ผูพิพากษา อัยการ พนักงาน สอบสวน ตํารวจ และทนายความ ผลการวิจัยพบวา ปญหาและอุปสรรคระบบดําเนินคดีอาญาไทย จากการศึกษาพบประเด็นปญหา ดังนี้ 1) ปญหาประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรมในชั้นสอบสวน 2) ปญหาความเปนกลางและอิสระของพนักงานสอบสวน 3) ปญหาการทํางานของพนักงานสอบสวน ไมไดรับการสนับสนุนอยางเพียงพอ 4) ปญหากระบวนการในการรวบรวมพยานหลักฐานและปญหา ในเรื่องระยะเวลาการพิจารณาสั่งคดีของพนักงานอัยการในคดีสําคัญ 5) ปญหาระบบตรวจสอบขาด การมีสวนรวมจากภาคประชาชนและสาธารณะ 6) ปญหาการเรียกรับผลประโยชนตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 121 7) ปญหาการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของผูตองหา การจัดการความรูและกระบวนการสอบสวนคดีอาญาในระบบงานยุติธรรม มีวิธีการจัดการความรูตาม ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนกระบวนการวางแผนในดานอัตรากําลังพลดานบุคลากร ศักยภาพในการทํางาน และงบประมาณ ขั้นตอนการปฏิบัติการในการปฏิรูปการทํางานของพนักงานสอบสวนและขั้นตอน การสงเสริมและบูรณาการการทํางานของพนักงานสอบสวนและอัยการ การพัฒนาระบบการดําเนิน คดีอาญาในชั้นกอนฟอง มีดังนี้ 1) พัฒนาระบบการดําเนินคดีใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2) พัฒนาการ บริหารงานยุติธรรมใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3) การปฏิบัติตอตัวผูกระทําความผิดใหมีความ หลากหลายและมีประสิทธิภาพในการแกไขฟนฟูผูกระทําผิดไดมากขึ้น 4) การพัฒนาดานทัศนคติ จิตสํานึกและการเสริมสรางศักยภาพของบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม โดยการปฏิรูปการศึกษา นิติศาสตร 5) สงเสริมการมีสวนรวมของชุมชนและประชาสังคมในกระบวนการ 6) พัฒนามาตรการ ทางกฎหมายและเสริมสรางองคความรูเพื่อพัฒนากระบวนการยุติธรรม 7) การพัฒนาระบบการ ตรวจสอบและการคุมครองสิทธิ โดยใหมีระบบตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพและระบบคุมครองสิทธิ ของบุคคลที่ดีโดยการศึกษาสิทธิในชั้นกอนฟอง ประกอบดวย สิทธิในการเขาถึงกระบวนการยุติธรรม ในชั้นสอบสวน สิทธิที่จะไดรับการเยียวยาความเสียหายในชั้นสอบสวน สิทธิในการมีสวนรวม ในกระบวนการยุติธรรม และสิทธิที่จะไดรับการคุมครองความปลอดภัยและการปฏิบัติที่เปนธรรม โดยขอเสนอแนะในงานวิจัยครั้งนี้ภาครัฐและหนวยงานที่เกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรมไทยตองมี นโยบายในการพัฒนาระบบดําเนินคดีใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นในการวางนโยบายลดปริมาณคดีขึ้นสู ชั้นศาล มาตรการกลั่นกรองคดีกอนเขาสูระบบศาลตลอดจนการพัฒนาระบบการตรวจสอบและ การคมุ ครองสิทธิที่มีประสิทธิภาพข

abstract:

Title Guidelines for the development of the criminal prosecution system at the pre-prosecution level to protect the rights and liberties of the people Field Politics Name Mr. Atthakarn Foochareon Course NDC Class 65 This study aimed to study the situation of problems and obstacles in the Thai criminal prosecution system, to analyze the knowledge management of the criminal investigation process in the justice system, and to propose guidelines for developing the criminal prosecution system at the pre-prosecution level in order to protect the rights and freedoms of the people. The in-dept interview with experts, including judges, prosecutors, investigators, police and lawyers. The results revealed that the problems and obstacles in the Thai criminal prosecution system from the study revealed the following problems: ) The problem of the efficiency of the judicial process at the investigation level 2) The problem of impartiality and independence of investigators 3) The problem of investigating officers' lack of support 4) Evidence gathering process problems and prosecutors' prosecutor's decision-making period in important cases 5) The problem of the audit system lacking participation from the public sector and the public 6) The problem of claiming benefits according to the Criminal Procedure Code, Section 121 7) The problem of protecting the rights and liberties of the accused. Knowledge management and the criminal investigation process in the justice system have knowledge management procedures as follows: planning process in terms of manpower, work potential and budget, operational steps in reforming the work of investigation officers, and procedures for promoting and integrating the work of investigators and prosecutors. The development of the criminal prosecution system at the pre-prosecution level is as follows: 1) Develop a more efficient prosecution system 2) Develop a more efficient justice administration 3) The treatment of offenders to be more diverse and effective in correcting and rehabilitating the offenders. 4) The development of attitudes, conscience and capacity building of personnel in the justice process through legal education reforms. 5) Promoting the engage communities and civil society in the process 6) Develop legal measures and build knowledge to improve the justice process 7) Developing a system for auditing and protecting rights by having an efficient auditing system and a good person's rights protection system by studying ค the rights before suing, consisting of: the right to access to justice during the investigation, the right to remedies during the investigation, the right to participate in the judicial process, and the right to safeguards and fair treatment. Recommendations in this research: The government and agencies involved in the Thai justice system must have a policy to develop a more efficient litigation system in order to set policies to reduce the number of cases brought to the courts measures to screen cases before entering the court system, as well as developing an efficient system of inspection and protection of rights.ง