เรื่อง: น้ำมันอาศายานชีวภาพ (BIO - JET FUEL) อนาคตและความมั่นคงของประเทศไทยอย่างยั่งยืน, (วปอ.10018)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายอมร ทรัพย์ทวีกุล, (วปอ.10018)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง น ้ำมันอำกำศยำนชีวภำพ (bio-Jet Fuel) อนำคตและควำมมั่นคงของ
ประเทศไทยอย่ำงยั่งยืน
ลักษณะวิชา วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย นำยอมร ทรัพย์ทวีกุล หลักสูตร วปอ. รุ่นที่65
กำรศึกษำนี มุ่งหวังผลที่ได้จำกกำรศึกษำและค้นคว้ำกำรผลิตและเทคโนโลยีที่เหมำะสม
ในกำรผลิตน ้ำมันอำกำศยำนชีวภำพและศึกษำเชิงเปรียบเทียบด้ำนกำรผลิตส้ำหรับเทคโนโลยีที่มีอยู่
ในปัจจุบันและเทคโนโลยีที่ก้ำลังพัฒนำต่อไปในอนำคต และเพื่อศึกษำควำมเป็นไปได้เชิง
เศรษฐศำสตร์ในกำรผลิตน ้ำมันอำกำศยำนชีวภำพจำกเทคโนโลยีต่ำง ๆ จำกกำรป้อนผลิตด้วยน ้ำมัน
ปำล์มในประเทศไทยที่ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจและควำมยั่งยืนของเกษตรกรชำวสวนปำล์ม
ในประเทศไทยจำกกำรผลิตน ้ำมันอำกำศยำนชีวภำพด้วยน ้ำมันปำล์มในประเทศไทยและสำมำรถน้ำ
บทสรุปงำนวิจัยเป็นข้อเสนอแนะ แนวทำงในกำรวิเครำะห์และวำงแผนกลยุทธ์ด้ำนพลังงำนชีวภำพ
โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรผลิตน ้ำมันอำกำศยำนชีวภำพในประเทศไทยตำมแนวทำง BCG Economy ซึ่ง
ขอบเขตกำรวิจัยจะน้ำข้อมูลกำรวิจัยจะเป็นข้อมูลรำคำและปริมำณน ้ำมันปำล์มในประเทศไทยมำ
ป้อนผลิตน ้ำมันอำกำศยำนชีวภำพ โดยไม่ลงลึกถึงปริมำณสำรเคมีและรำยละเอียดกระบวนกำรผลิต
และมีกำรวิเครำะห์ข้อมูลจำกกำรอ้ำงอิงของแหล่งข้อมูลของโครงกำรผลิตน ้ำมันชีวภำพอำกำศยำน
ของบริษัทชั นน้ำในระดับสำกล ซึ่งจะด้ำเนินกำรวิจัย โดยใช้ระเบียบวิธีกำรศึกษำเชิงปริมำณ
(Quantitative Research) ในกำรรวบรวมข้อมูลทำงด้ำนสถิติต่ำง ๆ ของน ้ำมันปำล์มและ
จำกกำรศึกษำงำนวิจัยที่เชื่อถือได้เพื่อน้ำมำใช้วิเครำะห์และค้ำนวณส้ำหรับกำรอนุมำนและอธิบำย
ข้อมูลและผลสรุปกำรวิจัยโดยผลกำรวิจัยพบว่ำจำกกำรประเมินควำมคุ้มค่ำกำรลงทุนในกรณีปกติ
ตำมข้อมูลอ้ำงอิงรำคำเทคโนโลยีกำรผลิตด้วย กระบวนกำร Hydroprocessed ester and fatty
acids (HEFA) จำก NExBTL ณ ก้ำลังกำรป้อนผลิตน ้ำมันปำล์ม 1,700 ตันต่อวัน หรือก้ำลังกำรผลิต
SAF 1,419 ตันต่อวัน มีควำมคุ้มค่ำกำรลงทุนเมื่อน้ำมำวิเครำะห์เพื่อศึกษำควำมเป็นไปได้ตำมทฤษฎี
เชิงเศรษฐศำสตร์ในกำรผลิตน ้ำมันอำกำศยำนชีวภำพจำกกำรใช้วัตถุดิบน ้ำมันปำล์มในประเทศไทย
และมีข้อเสนอแนะและแนวทำงในกำรวิจัยพบว่ำในกำรประเมินควำมคุ้มค่ำกำรลงทุนที่ใช้เทคโนโลยี
NExBTL, Neste ในกำรผลิตปัจจัยด้ำนต้นทุนกำรก่อสร้ำงรวมถึงต้นทุนเครื่องจักร และต้นทุนน ้ำมัน
ปำล์มที่เป็นปัจจัยอ่อนไหวส้ำคัญที่ภำครัฐและเอกชนสำมำรถน้ำมำวิเครำะห์ได้ อำทิ รำคำน ้ำมัน
ปำล์มที่มีผลต่อรำยได้จำกกำรด้ำเนินกำรที่อำจส่งผลลบในกรณีรำคำน ้ำมันปำล์มสูงขึ น ภำครัฐก็
สำมำรถเข้ำมำดูแลและก้ำหนดมำตรำกำรส่งเสริมรำคำต่ำงๆได้ และกรณีกำรน้ำเข้ำเครื่องจักร
อุปกรณ์จำกต่ำงประเทศที่ภำครัฐสำมำรถสนับสนุนด้ำนกำรงดเว้นภำษีพิเศษได้เป็นต้น และสุดท้ำย
ควำมท้ำทำยเรื่องกำรก้ำหนดวัตถุดิบกำรผลิตที่ยังมีกำรกีดกันปำล์มน ้ำมันมำใช้ในกำรผลิตจำก
มำตรำกำรของสหภำพยุโรปเกี่ยวกับ ISCC ที่ภำครัฐต้องเข้ำมำผลักดันทั งด้ำนกำรท้ำควำมเข้ำใจกำร
ปลูกปำล์มต่อไปข
abstract:
Title “Bio-Jet Fuel” for future and sustainability of Thailand
Field Science and Technology
Name Mr. Amorn Sapthaweekul Course NDC Class 65
This study aims to obtain results from studies and research on production
and appropriate technology to produce bio-jet fuel and comparative studies on
production for current and developing technologies. future and to study the economic
feasibility of bio-fuel production from various technologies by feeding palm oil in
Thailand that affects the economy and sustainability of palm farmers and its supply
chain and can bring research conclusions as suggestions guidelines for bioenergy
analysis and strategy planning. In particular, the production of bio-based jet fuel in
Thailand according to the BCG Economy, in which the scope of research will bring
research data, which will be price and quantity of palm oil in Thailand to be used to
produce bio-jet jet fuel and details of the production process and analyzing data from
references sources of aviation bio-fuel projects of leading international companies
which will conduct research using a quantitative study methodology (Quantitative
Research) to gather statistical data on palm oil and from reliable research studies to
be used for analysis inference and explanation of data. The research found that from
the evaluation of the investment, according to the reference price of the production
technology by Hydroprocessed ester and fatty acids (HEFA) from NExBTL at a palm oil
production capacity of 1,700 tons per day or SAF capacity of 1,419 tons per day. That
result pass project feasibility by using of palm oil. Moreover, there are suggestions and
research guidelines found that in assessing the worthiness of investments as the
production of construction cost factors, including the cost of machinery and the cost
of palm oil, which is an important sensitive factors that should be analyzed by the
public and private sectors, for example, the price of palm oil that affects revenue from
operations that may negatively affect the case of rising palm oil prices therefore the
government can take care of and determine various price promotion measures and
the case of importing equipment from foreign countries that the government can
support in terms of special tax exemption, etc. And finally, the challenge of
determining raw materials for production that still prevents oil palm from being used
in production from the European Union's ISCC measures that the government must
step in to push by following ISCC regulation to palm plantation.ค