Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการพื้นที่ต้นน้ำเพื่อแก้ปัญหาอุทกภัยและภัยแล้ง โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในพื้นที่ต้นน้ำ จังหวัดน่าน, (วปอ.10010)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี อชิรวิชญ์ ศรีไพบูลย์, (วปอ.10010)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2565
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการพื้นที่ต้นน้้าเพื่อแก้ปัญหาอุทกภัยและภัยแล้ง โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในพื้นที่ต้นน้้า จังหวัดน่าน ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์ ผู้วิจัย พลตรีอชิรวิชญ์ ศรีไพบูลย์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 65 งานวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาอุทกภัยและภัยแล้งและการด้าเนินการ แก้ไขปัญหาของ จังหวัดน่าน ที่ผ่านมา รวมทั้งศึกษาปัญหาอุปสรรคในการบริหารจัดการอุทกภัยและ ภัยแล้ง ระบบการบริหารจัดการพื้นที่ต้นน้้า จังหวัดน่าน ปัจจุบัน เพื่อก้าหนดแนวทางในการบริหาร จัดการอุทกภัยและภัยแล้ง โดยการน้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้โดยสัมภาษณ์ต่อ กลุ่มสมาชิกกลุ่มองค์กรผู้ใช้น้้าที่ลงทะเบียนของ ส้านักงานทรัพยากรน้้าแห่งชาติในพื้นที่อ้าเภอท่าวังผา และอ้าเภอปัว ผลการวิจัยสรุปได้ว่าสามารถก้าหนดแนวทางการจัดการพื้นที่ต้นน้้าเพื่อแก้ปัญหาอุทกภัย และภัยแล้งของจังหวัดน่าน โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้ดังนี้1) พัฒนาฐานความรู้ใน การจัดท้าข้อมูลน้้าต้นทุน เพื่อเปรียบเทียบกับความต้องการใช้น้้าทั้งระบบ โดยสนับสนุนบุคลากรที่มี ความรู้เข้าร่วมส้ารวจพื้นที่รวมทั้งจัดท้าแผนงาน/โครงการ 2) จัดท้าแผนภาพแสดงพื้นที่อุทกภัยหรือ ภัยแล้งที่เชื่อมโยงกับฐานข้อมูลความต้องการ น้้าอุปโภค บริโภคและการเกษตรในพื้นที่ชุมชน 3) สร้าง การเรียนรู้และความร่วมมือกับหน่วยงานในพื้นที่ในการอนุญาตให้เข้าปฏิบัติงาน รวมทั้งด้าเนินการ วางนโยบายและก้าหนดแผนงานโครงการแบบบูรณาการ 4) ร่วมตัดสินใจการใช้ทรัพยากรน้้าที่มีจ้ากัด ให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมอย่างเป็นธรรม 5) ร่วมจัดการหรือปรับปรุง การบริหารงานพัฒนาเกี่ยวกับ น้้าในลุ่มน้้าให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 6) ร่วมลงทุนในกิจกรรมตามขีดความสามารถของชุมชน เองและของหน่วยงาน 7) ด้าเนินการเพิ่มปริมาณและประสิทธิภาพแหล่งน้้าในการกักเก็บเพียงพอ อย่างสมดุลกับปริมาณการใช้น้้าในพื้นที่แล้งซ้้าซากและเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้้าด้วยการขุด ลอกคลอง ในพื้นที่อุทกภัยซ้้าซาก 8) ร่วมควบคุม ติดตาม ประเมินผลและร่วมบ้ารุงรักษากิจกรรมที่ท้า ไว้โดยให้ความส้าคัญกับสิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิต การใช้ประโยชน์ของทรัพยากรน้้าอย่างยั่งยืน 9) ร่วมประชุม อบรม สัมมนา ที่ทางราชการและภาคเอกชนจัดขึ้น โดยร่วมเสนอแนะแนวทางแก้ไข ปัญหาต่างๆ ร่วมกัน 10) มีส่วนร่วมในการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการบริหารจัดการน้้าให้ประชาชนใน ชุมชนของแต่ละลุ่มน้้าได้รับรู้โดยเฉพาะ ในพื้นที่ใช้ประโยชน์ของประชาชน ที่อยู่อาศัยริมน้้า หรือ มี สิ่งก่อสร้างที่ขวางล้าน้้าในการอ้านวยความสะดวกให้เจ้าหน้าที่ เข้าปฏิบัติงานขุดลอกระบายน้้าได้ ค้าส้าคัญ : การบริหารจัดการพื้นที่ต้นน้้าโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงข

abstract:

Title Guidelines for watershed areamanagement tosolveflood and drought problems byusing the philosophyof sufficiencyeconomy intheupstream areaof NanProvince Field strategy style Name Maj.Gen.Achiravit Sripaiboon Course NDC Class 65 Thisresearchaimsto A studyof flood and drought problemsand actionstakenin Nan Provinceinthe past, includingstudying problemsand obstaclesinflood and droughtmanagement. administrativesystem Managementof watershed areas, present NanProvincetoset guidelines for managing floods and droughts by applying the philosophyof sufficiencyeconomy by interviewing membersof theregistered wateruserorganizationsof NationalWaterResources OfficeinThaWang Pha District and Pua DistrictThe researchresults concluded that Able to determine guidelines for watershed area management tosolve flooding problems and drought in Nan province using the philosophy of sufficiency economy as follows: 1) develop knowledge base in the preparation of cost water data to compare with the demand for water in the whole system by supporting personnel withtheknowledgeto participateinexploringtheareaincludingmaking plans/projects2) Prepare a diagram showing flood or drought areas. 3) Create learning and cooperation with local agencies in granting access to work, including implementing policy formulation and integrated project plans.4)Participatingin decision-makingontheuseof limitedwater resourcesfor the benefit of the publicfairly.5) Co-manageor improvemanagementofwater development inthe watershed to beefficientand effective;6) jointlyinvest inactivities based onthecommunity'sowncapability;7) Continue to increase the amount and efficiencyof water sources in adequate storage in balance with the amount of water used in recurring drought areas and increase efficiency. Drainage by dredging canals in recurring flooding areas 8) Participate in controlling, monitoring, evaluating, and participating in the maintenance of the activities done. By giving importance to the environment, qualityof life, sustainableuseof water resources.9) Attend meetings, trainings, seminarsorganized by the government and private sectors by jointly suggesting ways to solve various problems together10)Participatein publicrelationson water management tothe peopleinthecommunity ofeach watershed to beaware,especiallyintheareasof publicuse. Housing bythe wateror there isa building blockingtheriver. infacilitatingthestaff Abletoworkon dredgingand drainingwater. Keywords:Watershed areamanagementusingthe philosophyofsufficiencyeconomyค ค ํ าน ํ า ปัญหาในเรื่องความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ต้นน้ําของจังหวัดน่าน กําลังเข้าสู่ห้วงวิกฤติซึ่งมีหลายหน่วยงานที่พยายามเข้าไปช่วยเหลือในการแก้ไข แต่ยังขาดการบูรณา การร่วมกันทําให้สภาพพื้นที่ต้นน้ํายังไม่ได้รับการฟื้นฟูได้เต็มประสิทธิภาพ ส่งผลให้เกิดปัญหาอุทกภัย และภัยแล้งและมีความรุนแรงมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้วิจัยจึงเกิดแนวคิดที่จะน้อมนําหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นยุทธศาสตร์สําคัญ ในการกําหนดแนวทางแก้ไขบริหารจัดการหน่วยงานต่าง ๆให้นําทรัพยากรอันจํากัดมาบูรณาการใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างมีแบบแผนให้สามารถแก้ปัญหา จึงได้จัดทํางานวิจัยนี้ขึ้นเพื่อต้องการที่จะทราบถึงแนวทางการน้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช้ในการบริหารจัดการอุทกภัยและภัยแล้ง อันนํามาสู่การวางแผนในกําหนดแนวทาง การบริหารจัดการพื้นที่ต้นน้ําที่มีความสมดุลและเสนอเป็นแนวทางการการบูรณาการความร่วมมือใน การดําเนินการของจังหวัดน่านต่อไป ผู้วิจัยมีความคาดหวังว่างานวิจัยชิ้นนี้จะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีและ เป็นแนวทางในการขยายผลไปสู่การจัดทํารูปแบบที่เหมาะสมในการบริหารจัดการน้ําในพื้นที่อื่นๆ ให้ เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืนต่อไป พลตรี (อชิรวิชญ์ ศรีไพบลูย์) นักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 65 ผู้วิจัยง กิตติกรรมประกาศ การวิจัย เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการพื้นที่ต้นน้้าเพื่อแก้ปัญหาอุทกภัยและภัยแล้ง โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ต้นน้้า จังหวัดน่าน นี้ส้าเร็จได้ด้วยความกรุณาของ อาจารย์ที่ปรึกษา ซึ่งคอยดูแลให้ค้าปรึกษาและแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ตลอดระยะเวลาการศึกษา ขอขอบคุณ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย ที่ให้การสนับสนุน บุคลากรในการเก็บข้อมูล ตลอดจนทุกภาคส่วนที่ให้ความอนุเคราะห์ในการเข้าไปเก็บข้อมูลในพื้นที่และ ขอขอบคุณสมาชิกองค์กรผู้ใช้น้้าในพื้นที่อ้าเภอท่าวังผาและอ้าเภอปัว จังหวัดน่าน ที่ได้ให้ข้อมูลและ ข้อคิดเห็นที่ส้าคัญ ตลอดจนค้าแนะน้าจนท้าให้การวิจัยครั้งนี้ส้าเร็จลุล่วงได้ด้วยดี หากงานวิจยัชิ้นนี้สามารถน้าไปใช้ได้เกิดประโยชนแ์ ละสามารถบรรเทาความเดือดร้อนจาก อุทกภัยและภัยแล้งให้กับประชาชนในพื้นที่จังหวัดน่านได้ผู้วิจัยขอส่งความส้าเร็จนี้ให้แด่ผู้ให้ความ กรุณาสนับสนุนในการศึกษาวิจัยดังที่กล่าวมาข้างต้นทุกท่าน ตลอดจนวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ที่ได้ประสิทธิประสาทวิชาเพื่อสร้างความมั่นคงในทุกมิติให้กับ ประเทศไทยอย่างยั่งยืน พลตรี (อชิรวิชญ์ ศรีไพบลูย์) นักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 65 ผู้วิจัยจ สารบ ั ญ หน้า บทคัดย่อ ก Abtract ข