Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทงการสร้างขีดความสามารถ กำลังทางเรือของกองทัพพเรือ รองรับปัญหาความขัดแย้งในทะเลจีนใต้, (วปอ.10005)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี สุวัจ ดอนสกุล, (วปอ.10005)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2565
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการเสริมสรางขีดความสามารถกําลังทางเรือของกองทัพเรือ รองรับ ผลกระทบจากความขัดแยงในทะเลจีนใต ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร ผูวิจัย พลเรือตรี สุวัจ ดอนสกุล หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๕ ทะเลจีนใตเปนพื้นที่ทางทะเลของมหาสมุทรแปซิฟกที่มีพื้นที่รวม ๑.๔ ลานตารางไมล และเกาะ สันดอนทราย แนวปะการัง และชายฝงประมาณ ๒๕๐ เกาะ อยางไรก็ตาม ทะเลจีนใตได กลายเปนหนึ่งในพื้นที่ทางทะเลที่สําคัญที่สุดในโลกดวยเหตุผลหาประการ ประการแรก ทะเลจีนใต เปนที่ตั้งทางภูมิรัฐศาสตรและเสนทางคมนาคมทางทะเลที่สําคัญ ซึ่งเชื่อมโยงมหาสมุทรแปซิฟกกับ มหาสมุทรอินเดียผานชองแคบมะละกา ดังนั้น ๑ ใน ๓ ของการขนสงทางเรือของโลก ซึ่งมีมูลคา ประมาณ ๓ ลานลานดอลลารสหรัฐ จะตองผานทะเลจีนใต ประการที่สอง ทะเลจีนใตมีน้ํามันและ กาซสํารองที่ยังไมไดใชจํานวนมาก ประการที่สาม ทะเลจีนใตถูกใชเปนเสนทางเดินเรือที่สําคัญของ ประเทศมหาอํานาจในภูมิภาค เชน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และเกาหลีใต สําหรับการเคลื่อนยายกําลัง ทางทหารไปยังพื้นที่ตาง ๆ ของโลก ประการที่สี่ การกาวขึ้นมาเปนชาติมหาอํานาจของจีนในเวที การเมืองระหวางประเทศ และการพัฒนาขีดความสามารถทางทหารอยางรวดเร็ว นําไปสูการอางสิทธิ์ เหนือทะเลจีนใตเกือบทั้งหมดตอสหประชาชาติในป พ.ศ.๒๕๕๒ ซึ่งกระตุนใหเกิดความตึงเครียด ในภูมิภาค และประการที่หา การบังคับใชกฎหมายระหวางประเทศ โดยเฉพาะกฎหมายทะเล ค.ศ.๑๙๘๒ (UNCLOS 1982) ซึ่งชาติที่อางกรรมสิทธิ์ฯ หลายชาติไดใชเปนพื้นฐานในการอางกรรมสิทธิ์ฯ ในแง ของกฎหมายระหวางประเทศ ในป พ.ศ.๒๕๕๙ ศาลอนุญาโตตุลาการถาวรไดตัดสินชี้ขาดใหฟลิปปนส ชนะคดีในกรณพีิพาทระหวางจีนกับฟลิปปนสเหนือหมูเกาะและปะการังในทะเลจีนใตซึ่งจีนไดปฏิเสธ การยอมรับคําตัดสินดังกลาว เมื่อพิจารณาจากความสําคัญทั้งหมดที่กลาวไวขางตน รัฐชายฝง ๖ รัฐไดพยายามอาง สิทธิ์เหนือพื้นที่ทางทะเลในทะเลจีนใต มีการเรียกรองที่แตกตางกัน ๒ ฝาย ไดแก จีนและไตหวันอาง สิทธิ์ในทะเลจีนใตเกือบทั้งหมด ทั้งสองประเทศอางสิทธิ์ตามประวัติศาสตร อยางไรก็ตาม ความ ตองการของจีนและไตหวันเกินกวาขอกําหนดในกฎหมายทะเล ค.ศ.๑๙๘๒ (UNCLOS 1982) ซึ่งได ใหสัตยาบันโดยจีนแลว สวนฝาย มาเลเซีย เวียดนาม ฟลิปปนส และบรูไนก็อางสิทธิ์อาณาเขต ทางทะเลในทะเลจีนใตเปนเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (Exclusive Economic Zone : EEZ) ของ ตนตามกฎหมายทะเล ค.ศ.๑๙๘๒ (UNCLOS 1982) อยางไรก็ตาม พื้นที่ทางทะเลที่อางสิทธิ์โดย ทั้งสี่ประเทศดูเหมือนจะใหญกวาที่ควรจะเปน ดังนั้น การอางสิทธิ์ที่ทับซอนกันโดยทุกฝายจึงเปน ความทาทายที่สําคัญ สําหรับทั้งอินโดแปซิฟกและโดยเฉพาะเอเชียตะวันออกเฉียงใต ยิ่งไปกวานั้น ในป ค.ศ.๒๐๑๓ จีนไดใชยุทธศาสตร Belt and Road Initiative (BRI) เพื่อสงเสริมการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การขยายกําลังทหาร และอิทธิพลทางการเมืองของจีนทั่วโลก นอกจากนี้ BRI ยังใหความสําคัญกับการขยายและปกปองการคาทางทะเลของจีนดวยการลงทุน พัฒนาทาเรือตั้งแตเอเชียตะวันออกเฉียงใตไปจนถึงมหาสมุทรอินเดีย แอฟริกาตะวันออก และข บางสวนของยุโรป จีนยังไดออกยุทธศาสตรทางทหารที่เรียกวา “การตอตานการเขาถึงและการปฏิเสธ พื้นที่ (A2/AD)” ดังนั้น ทะเลจีนใตจึงมีบทบาทสําคัญในยุทธศาสตรอันยิ่งใหญและยุทธศาสตร ทางทหารของจีน ดังนั้น ในชวงไมกี่ปมานี้ ขอพิพาททะเลจีนใตจึงกลายเปนประเด็นสําคัญมากขึ้น ไมเพียงแตสําหรับทุกประเทศที่อางสิทธิ์ รวมทั้งจีน ไตหวัน มาเลเซีย เวียดนาม ฟลิปปนส และบรูไน เทานั้น แตยังรวมถึงประเทศมหาอํานาจและมหาอํานาจในภูมิภาค เชน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และ เกาหลีใต ที่ใหความสําคัญกับหลักเสรีภาพในการเดินเรือผานทะเลจีนใต ตัวอยางเชน สหรัฐฯ ไดปรับ ใชยุทธศาสตร Indo-Pacific Strategy และยุทธศาสตร Free and Open Indo-Pacific Strategy ซึ่งไดรับการสนับสนุนจากพันธมิตรและพันธมิตรทางยุทธศาสตร เพื่อตอบโตจีนในอินโดแปซิฟกและ ทะเลจีนใต โดยสหรัฐฯ และชาติพันธมิตรไดสงกองกําลังทางทะเลเขาไปในทะเลจีนใตอยางตอเนื่อง เพื่อแสดงถึงหลักเสรีภาพในการเดินเรือ ประเทศไทยแมวามิไดเปนสวนหนึ่งของปญหาความขัดแยงในทะเลจีนใต แตปญหา ความขัดแยงในทะเลจีนใตไดสงผลกระทบตอประเทศไทยทั้งดานการเมืองและการทูต เศรษฐกิจและ การคา รวมทั้งการทหารและความมั่นคง ซึ่งหากปญหาความขัดแยงในทะเลจีนใตลุกลามจนถึงขั้นใช กําลังทหารตอกัน ยอมสงผลกระทบตอสิทธิเสรีภาพในการเดินเรือและเดินอากาศผานทะเลจีนใต และสงผลกระทบตอเสนทางคมนาคมทางทะเลเขา – ออกประเทศไทยฝงอาวไทย อยางหลีกเลี่ยงมิได ในสถานการณปกติ ประเทศไทยควรแสดงบทบาทสําคัญในการสนับสนุนใหชาติอาเซียนที่อาง กรรมสิทธิ์ฯ และจีนแกไขปญหาปญหาความขัดแยงในทะเลจีนใตโดยสันติวิธี ผานแนวทางที่ไดกําหนด ไวในประมวลการปฏิบัติในทะเลจีนใต (Code of Conduct in the South China Sea : COC) และ ปฏิญญาวาดวยแนวปฏิบัติของภาคีในทะเลจีนใต (Declaration of the Conduct of Parties in the South China Sea : DOC) ซึ่งจีนและชาติสมาชิกอาเซียนไดเห็นชอบรวมกันไวแลว เพื่อสงเสริม ความมั่นคงที่ยั่งยืน และความมั่นคงในภูมิภาค อยางไรก็ตาม ในสถานการณวิกฤติหรือสถานการณ สงคราม การใชกําลังทหารระหวางกันทั้งระหวางจีนและชาติอาเซียนที่อางกรรมสิทธิ์ฯ หรือระหวาง จีนกับสหรัฐฯ และชาติพันธมิตร ยอมสงตอความปลอดภัยของเรือสินคา/เรือพาณิชย ซึ่งมีความ จําเปนตองใชเสนทางคมนาคมทางทะเลเขา – ออกประเทศไทยฝงอาวไทย ซึ่งอาจตองเผชิญกับ ภัยคุกคามอันอาจเกิดจากการโจมตีของเรือดําน้ํา เรือผิวน้ํา อากาศยาน หรือทุนระเบิด จากชาติที่เปน คูขัดแยงในพื้นที่ทะเลจีนใตทั้งแบบตั้งใจหรือไมตั้งใจได ดังนั้น กองทัพเรือจะตองเตรียมความพรอม กําลังรบ โดยการนํายุทธศาสตรกองทัพเรือและแผนพัฒนาโครงสรางกําลังรบ เพื่อระบุความตองการ กําลังรบที่จําเปนและโครงการสําคัญที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะในสภาวะที่กองทัพเรือประสบปญหา ดานงบประมาณในปจจุบัน ค

abstract:

Title Guidelines for enhancing naval capacity of the Navy support the impact of conflicts in the South China Sea Field Strategic Name Rear Admiral Suwat Donsakul Course NDC Class 65 The South China Sea is a marginal part of the greater pacific ocean with a total area of 1.4 million square miles and around 250 islands, sandbars, reefs, and shores. The South China Sea, however, has become one of the most vital sea areas in the world for five reasons. First, the sea represents a geopolitical location and an important sea line of communication linking the Pacific Ocean with the Indian Ocean through the Malacca Strait. So, one-third of the world’s shipping, worth approximately 3 trillion US dollars, has to pass through the South China Sea. Second, the sea harbors a large amount of untapped oil and gas reserves in its seabed. Third, the South China Sea has been used as a vital transit route for military forces of great and regional powers such as the US, Japan and South Korea. Fourth, the rise of China and Chinese military modernization eventually led to the 2009 official submission of China’s nine-dashed line claim over almost the whole South China Sea to the United Nations which provokes tensions in the region. Finally, in terms of international law, in 2016, the Permanent Court of Arbitration ruled on the claims between China and the Philippines that there was no evidence that China had exercised exclusive control historically over the South China Sea. Considering all of the reasons discussed above, six coastal states have tried to claim over the maritime areas in the South China Sea. There are 2 different types of claims by the six parties involved. Firstly, China and Taiwan claim the South China Sea almost entirely. The two countries lay the claims based on historical rights dating back to Xia Dynasty around 2070 – 1600 BC. However, the demand of China and Taiwan exceed the legal claim established by UNCLOS 1982, which was already ratified by China, eventually leading to the verdict of the Permanent Court of Arbitration in 2016 as mentioned earlier. Finally, Malaysia, Vietnam, the Philippines and Brunei claim maritime territory in the South China Sea as their Exclusive Economic Zones (EEZ) based on UNCLOS 1982. The maritime areas claimed by the four countries, however, seem to be bigger than what would be allowed by UNCLOS 1982. So, the overlapping claims by all the parties have posed a major challenge for both the Indo-Pacific in general and Southeast Asia in particular.ง Moreover, in 2013, China adopted the Belt and Road Initiative (BRI) strategy in order to promote its economic expansion, military expansion and Chinese political influence around the globe. The BRI has also focused on expanding and protecting Chinese maritime trade by investing in port development from Southeast Asia all the way to the Indian Ocean, East Africa and parts of Europe. China also issued a military strategy known as “Anti-Access and Area Denial (A2/AD)”. So, the South China Sea has played a vital role in China’s grand strategy and military strategy. Therefore, in recent years, the South China Sea Dispute has increasingly become a vital issue for not only all claimant nations including China, Taiwan, Malaysia, Vietnam, the Philippines and Brunei, but also for great powers and regional powers such as the US, Japan and South Korea. They are non-claimant states but all of the countries depend on the freedom of navigation in the South China Sea. The US, for example, it already adopted the Indo-Pacific strategy and the Free and Open Indo-Pacific strategy, supported by its allies and strategic partners, in order to counter the Chinese assertiveness in the Indo-Pacific and the South China Sea. The US and its allies have constantly sent maritime forces into the South China Sea to conduct freedom of navigation operations. Thailand is not part of the South China Sea dispute but if the conflict has actually occurred, the sea lines of communication in and out the Gulf of Thailand are unavoidably affected. Therefore, Thailand has concerned about the freedom of navigation in the maritime area like other countries. Thailand has also supported peaceful resolutions between the parties involved through current regional frameworks such as the Declaration on the Conduct of Parties in the South China Sea (DOC) and the Code of Conduct for the South China Sea (COC) in order to promote sustainable security and stability in the region. However, in order to deal with the South China Sea Dispute, especially in the time of conflicts leading to the use of force by any claimant states, the Royal Thai Navy will inevitably and accordingly be well-prepared by adopting the Naval Strategy and the Future Development Plan to identify required focused capabilities and major related projects in current budget constraints. จ