เรื่อง: การบริหารจัดการแหล่งน้ำเพื่อรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC), (วปอ.10004)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายสุริยพล นุชอนงค์, (วปอ.10004)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง การบริหารจัดการแหล่งน ้ารองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย นายสุริยพล นุชอนงค์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๕
การวิจัยครั งนี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะแวดล้อมที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการแหล่ง
น ้าในพื นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) สถานการณ์ของการบริหารจัดการแหล่งน ้า แนวโน้ม
ความต้องการใช้น ้าและปัญหาการบริหารจัดการแหล่งน ้า และเสนอแนวทางที่เหมาะสมในการบริหาร
จัดการแหล่งน ้ารองรับ EEC ผู้วิจัยได้ด้าเนินการศึกษาโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวม
ข้อมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์เชิงลึกและข้อมูลทุติยภูมิจากการศึกษาทบทวนเอกสาร และวิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื อหา ผลการวิจัยพบว่า การบริหารจัดการน ้าในพื นที่ภาคตะวันออกมี
การบูรณาการทั งภาครัฐและเอกชนมาเป็นเวลานานเนื่องจากมีการส่งเสริมการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ
มาตั งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Seaboard) สถานการณ์น ้าในปัจจุบันอยู่ใน
ระดับที่เพียงพอต่อการใช้งาน แต่ก็ต้องมีการเตรียมความพร้อมรับมือกับปัญหาภัยแล้วและน ้าท่วมทั ง
ในและนอกฤดูกาล ที่ส้าคัญ ยังต้องเตรียมรองรับความต้องการใช้น ้าที่เพิ่มมากขึ น โดยเฉพาะในพื นที่
EEC ซึ่งคาดว่า ในช่วงปี ๒๕๖๐ – ๒๕๘๐ จะมีความต้องการใช้น ้าเพิ่มขึ นจากเดิม ๖๗๐ ล้าน
ลูกบ าศก์เมตร โดยภ าคเกษตรกรรมมีความต้องการใช้น ้ าเพิ่มขึ นมากที่สุด รองลงมาคือ
ภาคอุตสาหกรรมและภาคอุปโภคบริโภค ตามล้าดับ ปัจจุบัน การบริหารจัดการแหล่งน ้าในพื นที่ EEC
ยังมีปัญหาทั งด้านแหล่งน ้า การส่งน ้า การใช้น ้า ภัยธรรมชาติ และการมีส่วนร่วม การวิจัยนี มีข้อเสนอ
ว่า ควรมีการแก้ไขปัญหาโดยการสร้างการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการแหล่งน ้า การบริหารจัดการ
น ้าแบบบูรณาการและมีเอกภาพ การส่งเสริมและรณรงค์ให้มีการใช้น ้าอย่างประหยัดและคุ้มค่า การ
เก็บค่าน ้าส้าหรับการชลประทานเพื่อการเกษตรที่มีมูลค่าสูง การบริหารจัดการแหล่งน ้าอย่างมี
ประสิทธิภาพ โปร่งใส และมีธรรมาภิบาล การประเมินความต้องการของประชาชน การวางแผน
บริหารจัดการน ้าร่วมกันระหว่างผู้ประกอบการและชุมชน การป้องกันภัยแล้งและอุทกภัยแบบเชิงรุก
การจัดผังเมืองให้ชัดเจนและไม่กระทบต่อการบริหารจัดการน ้า การพัฒนาและเสริมสร้างความ
เข้มแข็งของเครือข่ายด้านการบริหารจัดการน ้า และการด้าเนินนโยบายเกี่ยวกับทรัพยากรน ้าอย่าง
ต่อเนื่องและมีเสถียรภาพ ทั งนี เพื่อให้การบริหารจัดการแหล่งน ้าในพื นที่ EEC มีประสิทธิภาพ
สามารถตอบสนองการพัฒนาประเทศตามกรอบระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ๒๐ ปีต่อไปข
abstract:
Title Water Resources Management for the Eastern Economic Corridor
(EEC)
Field Science and Technology
Name Mr. Suriyapon Nuchanong Course NDC Class 65
The objectives of this research were to study the environmental
conditions affecting water resources management in the Eastern Economic Corridor
(EEC), the situation of water resources management, trends in water demand and
water resources management problems, as well as to propose appropriate
approaches to water resources management to support the EEC. By using qualitative
research methodology, primary data were collected from in-depth interviews and
secondary data from document review. Data were analyzed using content analysis.
The results showed that water management in the eastern region had been
integrated by both the public and private sectors for a long time as economic
development had been promoted since the Eastern Economic Development Plan
(Eastern Seaboard) . The water situation was at an adequate level for use, but
preparations for disasters and floods were required. Importantly, water supply
needed to be prepared for the increasing demand, especially in the EEC. Water
demand during 2017-2037 was anticipated to increase 670 million cubic meters,
which increased the most in the agricultural sector, followed by the industrial and
consumer sectors, in turn. Current water resources management in the EEC area had
some problems, including water resources, water delivery, water use, natural
disasters and public participation. This research suggests to address the problems by
engaging in water resource management, integrated and unified water management,
promotion of cost-effective water use, collection of water bills, efficient and good
governance water management, assessment of people’ s needs, joint water
management planning, proactive drought and flood prevention, clear urban planning,
strengthening networks, and continuous policy implementation to respond to the
development within the framework of the 20-year national strategy.ค