เรื่อง: แนวทางการส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีทางการเงินเพื่อขยายการเข้าถึงทางการเงินของภาคครัวเรือนไทย, (วปอ.9993)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาวสุทธาภา อมรวิวัฒน์, (วปอ.9993)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง แนวทางการส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยทีางการเงินเพื่อขยายการเขา
้
ถึงทางการเงิน
ของภาคครัวเรือน
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วจิัย นางสาว สุทธาภา อมรวิวัฒน์ หลกัสูตรวปอ. รุ่นที่65
เอกสารวิจยัฉบบั น้ีศึกษาการใชเ้ทคโนโลยีทางการเงิน (FinTech) ในการเพิ่มเขา้ถึง
ทางการเงินแก่ครัวเรือนโดยเฉพาะดา้นสินเชื่อและนา เสนอแนวทางนโยบายในการช่วยส่งเสริม
ภาคธุรกิจดงักล่าวซ่ึงมีความส าคญั ต่อการลดความเหลื่อมล้า ทางโอกาสและรายได้ และการพัฒนา
ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยงานวจิยัฉบบั น้ีมีจุดประสงคเ์พื่อวเิคราะห์ปัญหาการเขา้ถึง
บริการทางการเงินของครัวเรือนไทยโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งทางดา้นสินเชื่อและเพื่อเสนอแนวทางการ
ส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีทางการเงินเพื่อให้สามารถใช้เทคโนโลยีทางการเงินในการลดความ
เหลื่อมล้า ในไทยได้
ขอบเขตการวจิยัมุ่งเนน้การศึกษาเชิงประจกัษ์โดยเป็นการศึกษาขอ้มูลเชิงปริมาณของ
การเขา้ถึงทางการเงินของประชากรไทย และการรวมรวมข้อมูลเชิงคุณภาพของลกั ษณะธุรกิจ
เทคโนโลยีในไทยในปัจจุบนั นอกจากน้ียงัมีการรวบรวมข้อมูลหลักฐานจากต่างประเทศที่มี
ตวัอยา่ งธุรกิจเทคโนโลยีทางการเงินที่กา้วหนา้และมีการเขา้ถึงทางการเงินที่ดีโดยทา การศึกษาเชิง
เปรียบเทียบเพื่อบ่งช้ีแนวทางนโยบายที่มีผลต่อการส่งเสริมภาคธุรกิจเทคโนโลยีทางการเงิน
ที่เหมาะสม รวมไปถึงลกั ษณะโครงสร้างพ้ืนฐานในประเทศน้นั ๆ นอกจากน้ียงัมีวิเคราะห์ข้อมูล
เทคโนโลยแีต่ละประเภทที่ใชใ้นธุรกิจ Fintech ที่จะช่วยลดการเหลื่อมล้า ทางการเงินได้
โดยงานวิจยัชิ้นน้ีได้นา เสนอแนวทางนโยบายของบทบาทภาครัฐใน 3 ด้าน ได้แก่
ดา้นการส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีทางการเงินผ่านการลดตน้ ทุนในผูเ้ล่นดว้ยการสร้างโครงสร้าง
พ้ืนฐานสาธารณะที่จ าเป็นอย่างโครงสร้างพ้ืนฐานด้านข้อมูลหรือด้านการตรวจสอบตัวตน
การกา กบั ดูแลที่เหมาะสมมีเกณฑ์ที่ชดัเจน มีบรรทดัฐานที่แน่ชดักบัผูเ้ล่นทุกคนเท่าเทียมกนั และ
มีการเพิ่มบทบาทของกลไกตลาดให้ทา งานมากข้ึน และนโยบายด้านการศึกษาเพื่อเตรียมความ
พร้อมใหแ้ก่ประชาชนในการใช้เทคโนโลยีทางการเงินข
abstract:
Title Policy Guideline to Support Financial Technology for Household Financial
Inclusion
Field Economics
Name Miss Sutapa Amornvivat Course NDC Class 65
This research looks at how financial technology (FinTech) can improve access to
finance for households especially for access to lending and how the government can play a role in
supporting the FinTech industry as a way to alleviate inequality of income and of opportunity;
which in turn hurts economic growth of the country. The goal of this paper is twofold: first to
analyze the current stage of Thailand’s household access to finance, more specifically in lending,
and second to identify appropriate policy guidance that supports the use of financial technology to
reduce inequality in Thailand.
The scope of this paper focuses on empirical study of data on household access to
financial services and qualitative evidence of the FinTech industry in Thailand. The paper also
gathers evidence for a comparative study from international examples with advanced financial
technology and high household access to finance. The evidence includes potential financial
policies, necessary public infrastructure, and key technology used in FinTech that can help
improve financial inclusion.
Based on past empirical evidence, the paper identifies three key roles of the
government in utilizing the FinTech industry to alleviate financial access inequality. First is
supporting the business players through provision of necessary public infrastructure to help reduce
cost of business such as public data and KYC infrastructure, Open Banking policy. Second is in
having well clarified regulations for all players equally and allowing for the market mechanism to
play more role. Last but not least is the role as an educator to help prepare the people to be ready
in utilizing FinTech.ค