เรื่อง: การเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจจากอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ไม้ยางพาราสู่พลังงานทดแทนที่ยั่งยืนด้วยโมเดลทางเศรษฐกิจ BCG, (วปอ.9970)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายสงวน แสงวงศ์กิจ, (วปอ.9970)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดยอ
เรื่อง การเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจจากวัสดุเหลือใชในอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร
ไมยางพาราสูพลังงานทดแทนที่ยั่งยนืดวยโมเดลทางเศรษฐกิจ BCG
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผูวิจัย นายสงวน แสงวงศก ิจ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 65
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสถานการณ ปญหาและอุปสรรคของ
อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรไมยางพารา และพลังงานทดแทนจากอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรไมยางพารา
เพื่อวิเคราะหการเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจจากวัสดุเหลือใชในอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรไมยางพารา
เพื่อวิเคราะหการนํานโยบายโมเดลทางเศรษฐกิจ BCG ของไทยและตางประเทศ มาประยุกตใช
ในอุตสาหกรรมไมยางพารา และเพื่อเสนอแนวทางการเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจจากวัสดุเหลือใช
ในอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรไมยางพาราสูพลังงานทดแทนที่ยั่งยืนดวยโมเดลทางเศรษฐกิจ BCG โดยการ
สัมภาษณเชิงลึกจากผูมีสวนเกี่ยวของกับอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรไมยางพาราและอุตสาหกรรม
พลังงาน ผลการวิจัยพบวา ปญหาของอุตสาหกรรมไมยางพารา มีดังนี้ ปญหาการปลูกไมยางพารา
ของเกษตรกร ปญหาดานราคายางพารา ปญหาดานการผลิต ปญหาดานตนทุนการผลิต ปญหา
การตลาด และปญหาการสงเสริมพลังงานทดแทน พลังงานทดแทนจากอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรไม
ยางพารา ไดแก ชีวมวลอัดเม็ดจากไมยางพารา โดยเปนผลิตภัณฑที่ไดจากการนําขี้เลื่อย หรือเศษไม
ขนาดเล็กที่เหลือจากการเลื่อยหรือแปรรูปมาอัดเปนเม็ด ซึ่งเปนไปตามหลักการของเศรษฐกิจ
หมุนเวียนที่เรียกวา Circular Economy หลายประเทศไดนํานโยบาย BCG มาขับเคลื่อนประเทศ
เชนเดียวกับประเทศไทย โดยแนวทางการเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจจากวัสดุเหลือใชในอุตสาหกรรม
เฟอรนิเจอรไมยางพาราสูพลังงานทดแทนที่ยั่งยืนดวยโมเดลทางเศรษฐกิจ BCG ประกอบดวย 1) การ
สงเสริมการจัดการสวนยาง และการแปรรูปยางอยางยั่งยืน 2) การสนับสนุนมาตรฐานแหลงผลิตและ
สินคาจากตนยางพารา และ 3) การสนับสนุนการวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมยาง ขอเสนอแนะใน
งานวิจัยครั้งนี้ ภาครัฐและเอกชน รวมสนับสนุนงานวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมในดาน
เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว ควรมีการปรับปรุงกฎระเบียบที่ลาสลัย
ที่เปนอุปสรรคตอการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ สนับสนุนการนําทรัพยากรจากไมยางพารากลับมา
ใชใหมใหเกิดประโยชน สรางความมั่นคงดานพลังงาน โดยการเพิ่มแหลงพลังงานหมุนเวียนจาก
ไมยางพารา สงเสริมการจัดการสวนยาง และการแปรรูปอยางยั่งยืนตามโมเดลเศรษฐกิจ BCG พัฒนา
งานวิจัยและพัฒนาบุคลากร ผูประกอบการในอุตสาหกรรมไมยางพาราในการปรับปรุงกระบวนการ
ผลิตใหไดมาตรฐาน เกิดแนวคิดสรางสรรคในการใชประโยชนข
abstract:
Title Adding economic value from waste materials in the rubberwood
furniture industry to sustainable renewable energy with the BCG
economic model
Field Economics
Name Mr. Sa-nguan Sangwongkij Course NDC Class 65
This study aimed to study the problems and obstacles of the rubber
wood furniture industry and renewable energy from the rubber wood furniture
industry, to analyze the economic value increase from waste materials in the rubber
wood furniture industry, to analyze the policy implementation of Thai and
international BCG economic models applied in the rubber wood industry, and to
propose ways to add economic value from waste materials in the rubber wood
furniture industry to sustainable renewable energy with the BCG economic model.
The in-dept interview from stakeholders in rubber wood furniture industry and
energy industry. The results revealed that the problems of the rubber wood industry
are as follows: the problem of planting rubber trees of farmers, the price of rubber,
the production problem, the production cost problem, the marketing problem, and
the problem of renewable energy promotion. Renewable energy from the rubber
wood furniture industry is biomass pellets made from rubber wood, which is
a product obtained from sawdust or small scrap wood leftover from sawing or
processing into pellets according to the principles of the circular economy. Many
countries have adopted the BCG policy to drive the country like Thailand. The way
to add economic value from waste materials in the rubber wood furniture industry to
sustainable renewable energy with the BCG economic model consists of:
1) Promoting sustainable rubber plantation management and rubber processing,
2) Supporting the standards of production sources and products from rubber trees,
and 3) Supporting research on rubber technology and innovation. Recommendations
in this research Government and private sectors jointly support research and
development of innovative technologies in bioeconomy circular economy and green
economy, improving tired regulations that hinder the development of the
bioeconomy, supporting the reuse of rubber wood resources to create energy
security by increasing renewable energy sources from rubber wood, and sustainable
processing according to the BCG economic model, develop research and
development for entrepreneurs in the rubber wood industry in order to improve the
production process to meet standards and create creative ideas for utilization.ค