เรื่อง: แนวทางการจัดเก็บภาษีตามพระราชบัญญัติที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ.2562, (วปอ.9969)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสกุณา พิทักษ์สิทธิ์, (วปอ.9969)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง แนวทางการจัดเก็บภาษีตามพระราชบัญญัติที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
พ.ศ. ๒๕๖๒
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นางสกุณา พิทักษ์สิทธิ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๕
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาและวิเคราะห์ประเด็นปัญหา เพื่อหาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ
แนวทางการจัดเก็บภาษีตามพระราชบัญญัติที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยใช้ข้อมูลจาก
การสัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมายและผู้ประกอบการที่จ านวน
๑๔ คน เลือกด้วยวิธีเจาะจง และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงเอกสารตามวัตถุประสงค์
ของการวิจัย
จากการศึกษา พบว่า เจตนารมณ์ของกฎหมายฉบับนี้ต้องการให้องค์การปกครอง
ส่วนท้องถิ่นมีรายได้เพิ่มขึ้น กระตุ้นให้เกิดการใช้ประโยชน์ในที่ดิน ลดการใช้ดุลพินิจของเจ้าพนักงาน
และเป็นการปฏิรูปโครงสร้างระบบภาษีทรัพย์สินให้ทันสมัย แต่ผลลัพธ์จากการใช้กฎหมายฉบับนี้
กลับไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย เนื่องจากความไม่ชัดเจนของกฎหมายท าให้ประชาชน
พยายามหาทางเลี่ยงหรือหาช่างว่างของกฎหมายเพื่อให้ได้รับการยกเว้นภาษีหรือลดภาษีประชาชน
มองว่ากฎหมายฉบับนี้บัญญัติเพื่อเอื้อประโยชน์ให้กับคนมีฐานะและคนเมืองมากกว่าคนคน
ที่มีรายได้น้อย และคนที่อยู่ในชนบท และกฎหมายฉบับนี้ยังเปิดโอกาสให้เจ้าพนักงานใช้ดุลพินิจได้
ท าให้ไม่สามารถลดความเหลื่อมล้ าตามเจตนารมณ์ของกฎหมายได้นอกจากนี้เจ้าพนักงาน
ยังขาดความรู้ที่แม่นย า ไม่สามารถให้ค าแนะน าต่อประชาชนหรือผู้ถือครองที่ดินได้อย่างชัดเจน
และรวดเร็ว ท าให้ประชาชนขาดความเข้าใจในการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ส่งผลต่อภาระ
ภาษีที่เพิ่มขึ้น
ดังนั้น ผู้วิจัยจึงเห็นควรให้มีการบัญญัติกฎหมายส ารองในประเด็นที่ไม่ชัดเจนหรือไม่
ยุติธรรม เอื้อนายทุนมากกว่าลดความเลื่อมล้ า และในประเด็นการตีความในบทบัญญัติของกฎหมาย
ที่ยังไม่ชัดเจน ท าให้เกิดข้อถกเถียง ควรจัดกลุ่มที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพื่อการจัดเก็บภาษีหรือ
เรียกว่าอัตราภาษีตามลักษณะการใช้ประโยชน์ โดยต้องไม่สร้างภาระภาษีมากเกินควรและไม่ทับซ้อน
กับการเก็บภาษีเชิงภาษีประเภทอื่น ควรมีหลักการอย่างเป็นรูปธรรมในการใช้ดุลพินิจของ
เจ้าพนักงาน เจ้าหน้าที่ใช้ดุลพินิจมากเกินจ าเป็น โดยเฉพาะการใช้ดุลพินิจต่อปัญหาที่ดินที่ไม่สมบูรณ์
ตามสภาพ หลักการใช้ดุลพินิจของเจ้าพนักงานที่ชัดเจนและที่ส าคัญสามารถตรวจสอบได้มีที่ไปที่มา
หรือมีเหตุผลอธิบายต่อสังคมได้ชัดเจนข
abstract:
Tile The Guideline for tax collection in accordance with Land and
Building Tax Act B.E. 2562
Field Economics
Name Mrs. Sakoona Pitaksit Couse NDC Class 65
This research is a study and analysis of issues and finding proposals as
guidelines for tax collection according to the Land and Building Act B.E. 2562 by
using data from interviews with key informants. It consists of 12 legal experts and
entrepreneurs those are selected by purposive sampling. The data was analyzed by
the qualitative and documentary research method according to the research objectives.
The research results found that, 1. The intendment of the law was to
require the Local Government Organizations to have revenues and encourage utilizing of
the land. Furthermore, reducing officers’ discretion and modernizing the property tax
structure. 2. As a result of the implementation of the law, there were still unclear
legal issues causing people to attempt and manage to tax circumvent or look for a
gap in the law to be exempt from the tax collection. Because the people judged that
the state takes tremendous advantage of legislation that favors the wealthy and
urban people more than the rural and low incomes. It allows officials illegally to
exercise their discretion. And it still cannot reduce the inequality according to the
intendment of the law. 3. The related officials lacked accurate knowledge and were
undoubtedly unable to give advice to people or landowners. While the people still lack
well understanding, because they did not get accurate information from the state.
Suggestions from the research suggest that, 1. Ministerial regulations should
be issued, excepting for issues that were unclear and unfair or appease the capitalist
rather than reducing the inequality. Due to the gaps and problems of interpretation
in the provisions of the law that are still unclear on many issues. So, there is a debate that
has no practical solution. 2. The Land and buildings should be grouped together for tax
collections, known as the tax rate according to the intent of lang using. The grouping
must not cause excessive tax burden and must not overlap with other types of taxation
by issuing a specific law to collect tax on income that produced in land development.
3. There should be concrete guidelines for discretion exercised by the officials. They
used over discretion than mandatory. Especially the discretion on land problems that
are imperfect according to the condition of using. The guidelines for the officials’
discretion are clear. Importantly, it can be examined, transparent, and reasonable to
the society can be clearly.ค