Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การจัดทำข้อเสนอนโยบายด้านทรพย์สินดิจิทัลสำหรับประเทศไทย, (วปอ.9955)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย เวทางค์ พ่วงทรัพย์, (วปอ.9955)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2565
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

เรื่อง การจัดท าข้อเสนอนโยบายด้านสินทรัพย์ดิจิทัลส าหรับประเทศไทย ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 65 งานวิจัยชิ้นนี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาและวิเคราะห์แนวทางการก ากับดูแลสินทรัพย์ ดิจิทัลของไทย โดยถอดแนวคิดจากแนวนโยบาย (policy framework) ของรัฐด้านสินทรัพย์ดิจิทัล ของสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป พร้อมกับจัดท าข้อเสนอนโยบายรัฐบาลด้านสินทรัพย์ดิจิทัล ส าหรับประเทศไทย การวิจัยนี้ จะเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ร่วมกับการวิจัยเชิง พรรณนา (Descriptive Research) ผ่านการตอบแบบส ารวจจากกลุ่มเป้าหมาย ทั้งภาครัฐ จ านวน 7 หน่วยงาน ภาคเอกชนและอื่น ๆ จ านวน 10 หน่วยงาน ประกอบกับการศึกษาจากต ารา เอกสารต่าง ๆ และเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ จากการศึกษาข้อมูล ผู้วิจัยพบว่าการก ากับดูแลสินทรัพย์ดิจิทัลของประเทศไทย อยู่ในช่วงเริ่มต้น โดยมีโครงสร้างพื้นฐานที่ส าคัญรองรับ Digital Assets ทั้งทางด้านกฎหมาย ได้แก่ พ.ร.ก. การประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 และให้ความส าคัญกับการปกป้องคุ้มครอง นักลงทุนและการปกป้องเสถียรภาพระบบการเงิน แต่อย่างไรก็ตาม การป้องกันการใช้Digital Assets ในการกระท าผิดกฎหมายการก่ออาชญากรรม การฟอกเงิน ยังเป็นไปอย่างจ ากัด และยังไม่มี การด าเนินการกับผู้ประกอบธุรกิจที่ผิดกฎหมายเช่น Binance เป็นต้น นอกจากนี้การส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยียังเป็นไปอย่างจ ากัด และยังพบว่า มีกฎระเบียบเป็นปัญหาอุปสรรคที่ยังไม่ยืดหยุ่น หรือ เอื้อต่อการท าธุรกรรม หรือนวัตกรรมทางด้าน Digital Assets อีกด้วย หากเปรียบเทียบกับนโยบายของสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปด้านสินทรัพย์ดิจิทัลแล้ว ผู้วิจัยพบว่า ประเด็นนโยบายที่ขาดส าหรับประเทศไทยที่ควรมีการพัฒนา ได้แก่ การป้องกัน อาชญากรรมและการท าผิดกฎหมาย ตลอดจนการส่งเสริมเทคโนโลยีและนวัตกรรม อย่างไรก็ดี สามารถน านโยบายมาประยุกต์ใช้ส าหรับประเทศไทย โดยการจัดท านโยบาย ระดับชาติและยึดกรอบหรือประเด็นนโยบาย 5 ประเด็น ได้แก่ การคุ้มครองนักลงทุน การรักษา เสถียรภาพทางการเงิน การป้องกันอาชญากรรมและการท าผิดกฎหมาย การสนับสนุนการพัฒนา ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม Digital Assets และการสร้างประโยชน์ต่อประชาชนในการเข้าถึง บริการทางการเงินในราคาต่ า นอกจากนี้ ควรมีการบูรณาการระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการ จัดท านโยบายระดับชาติด้าน Digital Assets โดยให้ความส าคัญกับการส่งเสริมเทคโนโลยีและการใช้ ประโยชน์และควรปรับเปลี่ยนกฎหมาย กฎระเบียบอย่างต่อเนื่อง ให้มีความยืดหยุ่น รองรับกับ สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ให้สอดคล้องและสะท้อนเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ Digital Assets อีกด้วยข

abstract:

Title A Proposal of Digital Asset Policy for Thailand Field Economics Name Mr. Wetang Phuangsup Course NDC Class 65 This research aims to propose a digital asset policy for Thailand. The research draws insights from the policy frameworks of the United States and the European Union and results from surveys on targeted groups, including government agencies, related private companies and other relevant organizations. Based on both US and EU policies, relevant digital asset policy and information of Thailand and the survey results, this study draws some lessons learned and proposes policy recommendations and a proposal of Digital Asset Policy for Thailand. It is found that there are rules and laws supporting digital asset industry such as the Royal Decree on Digital Asset Businesses of 2018, which created rules for digital asset trading and investing platforms with some degree of investor protection. Nonetheless the digital asset rules and laws in Thailand are still in an early stage. Furthermore, measures to prevent illegal activities, such as money laundering and financial crimes via digital assets, remain limited. Also, some existing rules and laws hinder digital asset technology adoption and innovations. After analyzing digital asset policies of the United States and the European Union and then comparing to digital asset rules, laws and policy of Thailand, the study found that Thailand didn’t havenational digital asset policy and existing rules and laws needed to be improved. In particular, the area of technology adoption and innovations promotion and also digital asset and financial fraud prevention. In sum, the research proposes a national-level policy framework. The policy should focus on five key areas: investor protection, financial stability supporting, crime and financial fraud prevention, technology development and digital asset innovation boosting, and also digital financial services promotion. Collaboration between the government and the private sector in formulating national-level policies on digital assets is crucial, with an emphasis on technology promotion and utilization. Additionally, it is suggested to adopt flexible and friendly rules and laws reflecting the rapidly changing digital asset-related technologies and ecosystem.ค