Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาระบบจัดการขยะอาหารเพื่อความมั่นคงทางด้านสิ่งแวดล้อม, (วปอ.9951)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายวินท์ ภักดีจิตต์, (วปอ.9951)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2565
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

เรื่อง แนวทางการพัฒนาระบบจัดการขยะอาหารเพื่อความมั่นคงทางด้าน สิ่งแวดล้อม ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้วิจัย นายวินท์ ภักดีจิตต์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 65 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาระบบจัดการขยะอาหารในอดีตและ ปัจจุบันทั้งในประเทศและต่างประเทศที่ส่งผลต่อความมั่นคงทางด้านสิ่งแวดล้อม ศึกษาวิเคราะห์ ปัญหาการพัฒนาระบบการจัดการอาหาร และเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาระบบการจัดการขยะ อาหารของประเทศอย่างยั่งยืน โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจากภาครัฐ ภาคเอกชน และ ประชาชนในการจัดการขยะอาหาร ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาระบบจัดการขยะอาหารในประเทศ ไทยเปรียบเทียบกับระบบการจัดการขยะอาหารในหลายๆประเทศ จะเห็นได้ชัดว่าแนวทางของ ประเทศไทยยังขาดความเป็นรูปธรรมในการบังคับใช้ในด้านกฎหมายและนโยบายภาครัฐที่ยังไม่ ชัดเจนมีเพียงจุดเริ่มต้นจากหน่วยงานภาคเอกชนที่ให้ความส าคัญและเริ่มพัฒนาน ามาปฎิบัติแต่ยัง ขาดการมีส่วนร่วมในภาคครัวเรือนของประชาชน ปัญหาการพัฒนาระบบการจัดการอาหาร สรุปได้ ดังนี้ปัจจัยที่ท าให้เกิดปัญหาขยะอาหารในภาคธุรกิจได้แก่ 1) การขาดประสิทธิภาพในขั้นตอนการ ผลิต 2) ขาดทักษะการท างานของบุคลากรท าให้เกิดการสูญเสียในขั้นตอนการผลิตอาหาร 3) ปัญหา เกิดจากนโยบายในการด าเนินธุรกิจร้านอาหารของแต่ละธุรกิจที่แตกต่างกัน 4) ขาดการวางแผนและ ออกแบบอาหาร 5) รูปแบบการส่งมอบสินค้าและบริการที่มีความหลากหลายส่งผลให้เกิดขยะอาหาร คงเหลือจากการบริการ ส่วนภาคครัวเรือนถือเป็นแหล่งก าเนิดของการเกิดขยะอาหารมากที่สุดทั่ว โลกซึ่งปริมาณขยะอาหารเกิดขึ้นจากพฤติกรรมการบริโภคระดับครัวเรือนโดยตรงเกิดจากการขาด การวางแผน ถูกชักจูงด้านกลยุทธ์ทางการตลาด การเก็บรักษาอาหารที่ไม่ถูกต้อง ขาดทักษะการ ประกอบอาหาร ทัศนคติเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร และวิธีการก าจัดอาหารที่ไม่ถูกต้องตลอดจน ขาดความตระหนักและความใส่ใจในสิ่งแวดล้อม แนวทางการจัดการขยะอาหารอย่างเป็นระบบเพื่อ สิ่งแวดล้อม ได้แก่ 1) การปรับปรุงระบบเก็บรวบรวมข้อมูลและการแบ่งปันความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการ สูญเสียอาหารและขยะอาหาร 2) ภาครัฐควรพัฒนายุทธศาสตร์ลดการสูญเสียให้อยู่ในระดับที่ เหมาะสม 3) ด าเนินการอย่างจริงจังตามแผนยุทธศาสตร์ที่จัดเตรียมไว้เพื่อลดปริมาณการสูญเสีย อาหารและขยะอาหารด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะอาหาร 4) ปรับปรุง นโยบายและยุทธศาสตร์สร้างความร่วมมือในทุกระดับเพื่อลดการเกิดขยะอาหารข

abstract:

Title Guidelines for the development of food waste management systems for environmental security Field Science and Technology Name Mr.Wynn Pakdeejit Course NDC Class 65 This study aimed to study the development of food waste management systems in the past and present both in the country and abroad that affect environmental security, to study and analyze problems in food management system, and to propose guidelines for the development of a sustainable food waste management system of the country. The in-dept interview from stakeholders from the government, private sector and people in food waste management. The results revealed that the development of food waste management systems in Thailand compared to food waste management systems in many countries. It was found that Thailand's guidelines still lack concrete in enforcing laws and government policies that are not clear, only the beginning of the private sector that gives importance and begins to develop and implement but there is still a lack of participation in the household sector of the people. The problems of food management system development can be summarized as follows: Business sectors include 1) Inefficiency in the production process 2) Lack of work skills of personnel resulting in losses in the food production process 3) Problems arising from different restaurant business policies 4) Lack of food planning and design 5) Variety of delivery patterns of products and services results in leftover food waste. The household sector is the largest source of food waste globally, where the amount of food waste is directly attributed to household-level consumption behavior due to lack of planning, influenced marketing strategies, improper food preservation. Lack of cooking skills, attitudes about eating, and methods of eliminating improper food, as well as a lack of awareness and concern for the environment. Systematic approaches to food waste management for the environment include: 1) Improving data collection and knowledge sharing systems related to food loss and food waste. 2) The government should develop strategies to reduce losses to an appropriate level. 3) Seriously implement the strategic plan prepared to reduce the amount of food loss and food waste with technology and innovation related to food waste management. 4) Improve policies and strategies to build cooperation at all levels to reduce the occurrence of food waste.ค