เรื่อง: แนวทางการขยายการส่งออกทุเรียนไทยอย่างยั่งยืน, (วปอ.9949)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายวิทยากร มณีเนตร, (วปอ.9949)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง แนวทางการส่งออกทุเรียนไทยอย่างยั่งยืน
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายวิทยากร มณีเนตร หลักสูตร วปอ. รุ่นที่65
รัฐธรรมนูญ ปี 2560 มาตราที่ 65 ภายใต้หมวดแนวนโยบายแห่งรัฐ ก าหนดให้มี
พระราชบัญญัติการท ายุทธศาสตร์ พ.ศ.2560 โดยยุทธศาสตร์ชาติมีเนื้อหาด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ
คือการเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ทั้งนี้ เศรษฐกิจไทยมีอัตราการเติบโตที่พึ่งพิงภาคการส่งออก
มากกว่าด้านอื่น และสินค้าเกษตรอย่างทุเรียนเป็นสินค้าที่ติดล าดับหนึ่งในสิบของสินค้าที่ส่งออกที่มี
มูลค่าสูงสุด
อัตราการส่งออกทุเรียนสดขยายตัวไม่ต่ ากว่าร้อยละ 40 มาตั้งแต่ปี 2561 และจากสถิติ
ปี 2564 ทุเรียนมีมูลค่าการส่งออกมากกว่าข้าวเป็นปีแรก การเติบโตนี้เกิดจากการขยายตัวของอุปสงค์
จากตลาดจีนเพียงตลาดเดียว ซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 90 ของมูลค่าทุเรียนส่งออกทั้งหมด โดยประเทศไทย
เป็นประเทศเดียวที่ได้เปิดตลาดและสิทธิส่งออกทุเรียนสดไปยังประเทศจีนเพียงประเทศเดียว
ในปี 2565 อุตสาหกรรมการส่งออกทุเรียนไทยเผชิญความท้าทายเนื่องจากเป็นช่วงที่
ประเทศจีนประกาศใช้นโยบายโควิดเป็นศูนย์ (Zero-COVID Policy) ซึ่งเป็นมาตรการควบคุมการแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ส่งผลให้มีการจ ากัดการเดินทางเข้าออก
ในทุกช่องทาง รวมถึงตรวจสินค้าขาเข้าอย่างเข้มงวด เกิดอุปสรรคในการขนส่งโลจิสติกส์ รวมถึงการ
กระจายสินค้าในตลาดปลายทาง นอกจากนี้ ยังเป็นปีที่เวียดนามและฟิลิปปินส์เริ่มเจรจาเปิดตลาด
ทุเรียนกับประเทศจีน รวมไปถึงสวนทุเรียนทางตอนใต้ของจีนเริ่มออกผลเป็นปีแรก
การวิจัยฉบับนี้ได้ใช้หลักการการตลาดน าการผลิต ในการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลจาก
เกษตรกร ผู้ส่งออก หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่อุปทานทุเรียน รวมถึงปัจจัย
ภายนอกที่มีผลต่อการส่งออกทุเรียนในอนาคต โดยมีเป้าหมายเพื่อน าเสนอวิธีบริหารจัดการให้การ
ส่งออกทุเรียนเติบโตได้อย่างยั่งยืน ข
abstract:
Title Enhancing Thailand’s Durian Export Capabilities
Field Economics
Name Mr. Wittayakorn Maneenetr Course NDC Class 65
Thai constitution (2017) has stated for the need to establish the national
strategy which includes the economic development especially increasing
competitiveness for Thai industries. Thai economy relies on export figure more than
other sectors and durian is one of the top export products in the recent years.
Since 2018 Thai fresh durian export value has been increasing for at least
40% every year and in 2018 it overtook rice export value for the first time in history.
This expansion was triggered solely from Chinese demand which shares 90% of Thai
total fresh durian export number. During these years, China had officially imported
fresh durian only from Thailand.
In 2022 Thai durian export industry faced its biggest challenge when
China has implemented the Zero-COVID policy. This policy aimed to control the
COVID expansion within China but it led to border trade restriction, heavier product
checking and other COVID prevention procedures. This affected the durian logistics
timeline and durian distribution within China. The year 2022 also remarked the first
year that Vietnamese and Filipino fresh durian are allowed to export to China.
This research uses the market-led approach to study and analyze the
information from farmers, exporters, government and private agencies that involve in
durian supply chain. Also, it looks into factors that affect durian export industry in
order to offer a sustainable durian export model.ค