เรื่อง: ยุทธศาสตร์การสร้างจิตสำนึกความยั่งยืนสู๋การปฏิบัติสำหรับเยาวชน กรณีศึกษานิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, (วปอ.9935)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, ผศ. รัชด ชมภูนิช, (วปอ.9935)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง ยุทธศาสตร์การสร้างจิตส านึกความยั่งยืนสู่การปฏิบัติส าหรับเยาวชน :
กรณีศึกษานิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์รัชด ชมภูนิช หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 65
การวิจัยนี้เป็นการสร้างยุทธศาสตร์และแนวทางการสร้างจิตส านึกด้านความยั่งยืนของ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โดยมีการวางแผนวิเคราะห์ข้อมูลปัจจุบัน ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การท า
SWOT Analysis เพื่อก าหนดเป้าหมายการท ากิจกรรมด้านความยั่งยืนที่บูรณาการองค์ความรู้ตาม
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ Sustainable Development Goals, SDGs ทั้ง
17 เป้าหมาย เป็นการสร้างประชากรที่มีคุณภาพของประเทศและโลก
การพัฒนานิสิตให้เกิดจิตส านึกด้านความยั่งยืนนั้น ผลการวิจัยพบว่าผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
และผู้เชี่ยวชาญ เห็นพ้องว่าเยาวชนไทยมีความตระหนักถึงการพัฒนาอย่างยั่งยืนในระดับปานกลางถึง
น้อย และเป็นหน้าที่ของทุกคนตั้งแต่ครอบครัว โรงเรียน มหาวิทยาลัย ภาครัฐและเอกชนที่ต้อง
ช่วยกันสร้างจิตส านึก รวมทั้งตัวของเยาวชนเอง นอกจากนั้นผลวิจัยพบว่าเป้าหมายของการปลูก
จิตส านึกความยั่งยืนส าหรับเยาวชนคือ การพัฒนาประเทศอย่างสมดุล และยั่งยืน สร้างบุคลากร
เพื่อช่วยขับเคลื่อนประเทศ ท าให้เยาวชนเติบโตเป็นคนท างานที่รู้บทบาทของตนเองในการช่วยสังคม
ผู้เชี่ยวชาญเห็นว่าการสร้างจิตส านึกมาจากการปลูกฝังตั้งแต่ยังเล็ก มหาวิทยาลัยสามารถจัดกิจกรรม
ร่วมกับโรงเรียน ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ าเสมอ เยาวชนควรมีพื้นฐานความคิดเพื่อส่วนรวม และ
ให้มีรูปแบบเป็นกิจกรรมที่แฝงอยู่กับการใช้ชีวิตประจ าวัน สามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง ใช้ภาษา
สื่อสารที่สอดคล้องกับวัยและยุคสมัย สร้างกิจกรรมตระหนักรู้ผ่านผู้น าด้านความยั่งยืนและผู้ที่มี
อิทธิพลหรือมีชื่อเสียงในสังคม
ผลการสังเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยสามารถระบุยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ในการก าหนดทิศทางการพัฒนานิสิตเพื่อความยั่งยืน 5 ประเด็น พร้อมการระบุวิธีการ และ KPIs คือ
1) นิสิต KU มีความตระหนักถึงบทบาทของตนเองในการมีส่วนในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน โดย
การสร้างแรงบันดาลใจในการท ากิจกรรมด้านความยั่งยืน เกิดการระเบิดจากข้างในตน ร่วมแก้ไข
ประเด็นสาธารณะโดยเยาวชน เพิ่มโอกาสในการจ้างงานแก่นิสิต 2) เยาวชนเข้าถึงและมีความ
ตระหนักถึง SDGs ด้วยการสื่อสารที่ทันสมัยเป็นที่เข้าถึงง่าย 3) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีแผน
ด าเนินงานการพัฒนานิสิตที่มีการน า SDGs น าการวางแผน และมีงบประมาณการพัฒนานิสิตที่มีการ
น า SDGs ประกอบการพิจารณาอย่างเป็นระบบ สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือใหม่ๆ เครือข่ายใหม่ๆ
ในการท าให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนที่มีการบริหารทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
4) เผยแพร่ SDGs KU model สู่สาธารณะเพื่อเป็นต้นแบบที่ดีของสังคม และ 5) มีขยายขอบเขตการ
พัฒนาอย่างยั่งยืนในสเกลใหญ่จากมหาวิทยาลัยสู่เครือข่ายสู่ระดับประเทศและนานาชาติได้แก่
การถ่ายทอดต้นแบบดังกล่าวแก่เครือข่ายมหาวิทยาลัยยั่งยืนแห่งประเทศไทย (SUN Thailand) และข
เครือข่ายการพัฒนานิสิตนักศึกษา ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย อันจะส่งผลต่อการพัฒนาให้
เยาวชนของประเทศซึ่งเป็นก าลังส าคัญในอนาคต ได้เป็นพลเมืองโลกที่มีความรับผิดชอบต่อไป ค
abstract:
Title Development of Strategies for Building Students’ Sustainability
Awareness at Kasetsart University
Field Social - Psychology
Name Assistant Professor Ratchot Chompunich Course NDC Class 65
This research was to develop strategies for Kasetsart University and
means of building sustainability awareness in the youth, in particular UN’s
Sustainable Development Goals (SDGs). These included studying the Student
Development Unit of existing activities related to SDGs in all her 4 campuses;
planned yearly student ventures, budget and management, conducting
questionnaires to acquire solutions for appropriate way-methods to achieve
sustainability awareness in the youth; these were answered by KU’s student
development stakeholders and sustainable development experts. The information
gathered was then compiled using SWOT analysis to gain Kasetsart University’s
strategic plan of action ready as a university model for youth sustainability awareness
for others to adapt.
According to stakeholders and experts’ opinion, the youth’s degree of
sustainability awareness was medium to low and awareness needed to build at
young ages with all responsible; family, schools, universities, government, and
society, also with strong willingness from the youth themselves. Results of the study
suggest that the objectives of building awareness in the youth were for Thailand to
achieve sustainable development with balanced of environmental conservation,
economic and social development. Also, the youth can self-direct their ways of life
sustainably. Stakeholders and experts also provided applicable and rationalized
activities for the youth for each of the SDG, including key indicators to monitor the
projects.
Based on gathered information, SWOT analysis was used and Kasetsart
University strategies for building youth’s sustainability awareness were developed.
These including 1) KU students aware of their roles on Thailand achieving of SDGs,
with self-responsive, sharing roles of solving public issues, possible with job
opportunities, 2) communication in sustainability awareness by the university should
be maneuvered using new generation ways of communication, 3) related university
divisions adopt SDGs related plans and budget systematically, 4) emphasizing the
sharing of SDGs KU model to the public and 5) enhancing works on student ง
sustainability awareness to larger scale with benefit of existing Sustainable University
Network, Thailand and other networks. With the planned strategies, the goal of
increasing responsible global citizens will then be achieved.จ