Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางในการเตรียมการด้านทันตสาธารณสุขเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาวาอากาศเอก หญิง นิวัตวาร พัฒน์ชนะ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางในการเตรียมการด้านทันตสาธารณสุขเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิัย นาวาอากาศเอกหญิง นิวัตวาร พัฒน์ชนะ หลกัสูตร วปอ. รุ่นที่ 57 ประเทศไทยก้าวเขา้สู่สังคมผูสู้งอายุอย่างรวดเร็ว ทา ให้เกิดปัญหาการดูแลสุขภาพผูสู้งอายุ ปัญหาสุขภาพช่องปากเป็นปัญหาส าคญั ประการหน่ึงที่มีความส าคญั และเกิดข้ึนไดก้ บัคนทุกวยัโดยเฉพาะ ในวัยสูงอายุที่มักประสบปัญหาสูญเสียฟัน อนัจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจผูว้ิจยัจึงศึกษา เพื่อหารูปแบบการจดับริการทางทนั ตสาธารณสุขที่เหมาะสมกับผูส้ ูงอายุการศึกษาวิจยัคร้ังน้ีเป็นการ ศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาวิเคราะห์จากสภาพทั่วไปและปัญหาที่เกิดข้ึนในการให้บริการทันต สาธารณสุขส าหรับผู้สูงอายุที่มีอยู่ในปัจจุบนั รวมท้งัรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวขอ้งมาวิเคราะห์เพื่อเสนอ แนวทางในการใหบ้ริการทางทนั ตสาธารณสุขสา หรับผสูู้งอายทุ ี่เป็นรูปธรรมอยา่ งมีประสิทธิภาพ แนวทางการแกป้ ัญหาสุขภาพช่องปากดงักล่าว จึงตอ้งมีท้งัในส่วนการสร้างและสนับสนุน ให้ผสูู้งอายุเกิดพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากพ้ืนฐานที่ถูกตอ้งดว้ยตนเองการจดับริการป้องกนั รักษา ฟ้ืนฟูใหผ้ สูู้งอายสุ ามารถเขา้ถึงบริการที่จา เป็นไดท้ นัเวลาการบูรณาการเขา้กบัการดูแลผสูู้งอายุดา้นอื่นๆที่ เกี่ยวขอ้งอยา่ งเป็นระบบรวมท้งัการพฒั นาเทคโนโลยีในการป้องกนั รักษาฟ้ืนฟูที่เหมาะสม ให้ครอบคลุม ทุกประเด็นปัญหาท้งัในกลุ่มผสูู้งอายุและก่อนเขา้สู่วยัสูงอายุโดยมุ่งหวงัวา่ผสูู้งอายจุะสามารถดูแลสุขภาพ ช่องปากไดด้ว้ยตนเองเขา้ถึงบริการทนั ตสุขภาพจากภาครัฐท้งัดา้นการป้องกนัความเสี่ยงจากการเกิดโรคใน ช่องปาก และการรับบริการรักษาโรคในช่องปากตามความจา เป็น กระทรวงสาธารณสุขได้เสนอแผนงานทันตสุขภาพส าหรับผู้สูงอายุประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ -๒๕๖๕ และได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี มีสาระส าคัญเพื่อให้ประชากรผู้สูงอายุที่มีสภาวะทันต สุขภาพรุนแรงกวา่ วยัอื่นและเป็นวยัที่มีแนวโนม้ของโครงสร้างประชากรในสัดส่วนที่เพิ่มข้ึนเมื่อเทียบกบั ประชากรวัยเด็กและวัยแรงงาน ได้มีโอกาสเข้าถึงบริการด้านทันตกรรมและทนั ตสาธารณสุขมากข้ึนและเพื่อ พัฒนาเทคโนโลยีหรือนวัตกรรม ระบบการบริหารจัดการ ระบบงบประมาณ และบุคลากรด้านทันตกรรม ผู้สูงอายุใหม้ีความเหมาะสมยงิ่ ข้ึน ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยพัฒนา ควรมีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนงานเป็ น ระยะเพื่อประเมินผลสัมฤทธ์ิของการปฏิบตัิตามรูปแบบการให้บริการทางทันตสาธารณสุขส าหรับผู้สูงอายุ ที่เป็ นไปตามแผนงาน และเพื่อให้เป็ นรูปแบบที่มีประสิทธิภาพยงิ่ ข้ึนในระยะยาวต่อไป

abstract:

Abstract Title : Assessment of proper dental care plan in order to properly manage and provide dental service to seniors. Field : Social-Psychology Name : Gp.Capt.Nivatvarn Patchana Course NDC Class 57 As the Thai population rapidly approaches an aging society, providing proper health care may become problematic as demand will far exceed what the healthcare system can provide. Of particular concern are the oral and dental hygienic needs that seniors require due to tooth loss with aging, which further affects mental and physical health. This study assesses a proper dental care plan in order to properly manage and provide oral and dental service care to seniors. Data was assessed qualitatively from the literature, medical articles, and expert interviews within the field in order to develop guidelines for providing efficient and manageable oral and dental care services for seniors. The current conditions that seniors encountered during dental care became the subject of the inquiry. A framework designed to easily integrate into the current healthcare program for senior citizens was developed. Guidelines will include development of preventative behavioral management strategies, a plan for necessary dental care services delivered on time, and the implementation of medical technology for prevention and care. By stressing the importance of prevention and care, it is hoped that immediate and necessary care will be available for seniors and pre-seniors alike. The Cabinet recently approved the oral and dental care plan for Thai senior citizens, proposed by the Ministry of Public Health. This plan is to be implemented over the years 2558- 2565. Emphasis is placed on seniors due to the larger relative percentage of seniors compared to other age groups as Thai society rapidly approaches an aging one. Lastly, before guidelines are to be implemented, a framework for periodic follow-up evaluations should be developed in order to measure effectiveness of the proposed changes.