เรื่อง: ทิศทางและอนาคตการจัดที่ดินทำกินให้กับเกษตรกรและผู้ไร้ที่ดินทำกินในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ โดยไม่ให้กรรมสิทธิ์ เพื่อป้องกันการเปลี่ยนมือและเกิดการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน, (วปอ.9932)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางรวีวรรณ ภูริเดช, (วปอ.9932)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง ทิศทางและอนาคตการจัดที่ดินท ากินให้กับเกษตรกรและผู้ไร้ที่ดินท ากิน
ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ โดยไม่ให้กรรมสิทธิ์ เพื่อป้องกันการเปลี่ยนมือ
และเกิดการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นางรวีวรรณ ภูริเดช หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๕
การเข้าถึงที่ดินท ากินเป็นประเด็นความเหลื่อมล้ าส าคัญอย่างหนึ่งที่ประเทศไทยประสบ
โดยมีครัวเรือนยากจนและเกษตรกรจ านวนมากไร้ที่อยู่อาศัยและที่ดินท ากินเป็นของตนเอง ท าให้เกิด
การบุกรุกที่ดินของรัฐและความขัดแย้งระหว่างรัฐกับประชาชน เพื่อด าเนินการตามรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ ที่ให้รัฐต้องจัดให้มีมาตรการการกระจายการถือครองที่ดิน
เพื่อให้ประชาชนสามารถมีที่ท ากินได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม รัฐบาลจึงได้มีนโยบายจัดที่ดินท ากิน
ให้กับประชาชน รวมถึงนโยบายจัดที่ดินท ากินให้ชุมชนตามนโยบายคณะกรรมการนโยบายที่ดิน
แห่งชาติแบบแปลงรวม โดยไม่ให้กรรมสิทธิ์ ซึ่งงานวิจัยฉบับนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
และทบทวนนโยบายการจัดที่ดินท ากินให้กับเกษตรกรและผู้ไร้ที่ดินท ากินในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ
ในประเทศไทย เพื่อวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค และความท้าทาย และน าไปสู่การเสนอแนวทาง
ในการก าหนดนโยบายดังกล่าว โดยป้องกันการเปลี่ยนมือ พร้อมน าไปสู่การยกระดับรายได้
และคุณภาพชีวิต การสร้างมูลค่าที่ดินของรัฐ การแก้ไขปัญหาความยากจน และการส่งเสริม
การอนุรักษ์พื้นที่ป่าอย่างยั่งยืน โดยการศึกษาได้ทบทวนเอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์
ผู้เชี่ยวชาญ ภาครัฐ ชุมชน และประชาชน การสังเกตการณ์ภาคสนาม และการลงพื้นที่กรณีศึกษา
ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แจ่ม และป่าสงวนแห่งชาติป่าขุนแม่ทา จ. เชียงใหม่ ก่อนท าการวิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้ SWOT Analysis ซึ่งผลการศึกษาพบว่าการจัดที่ดินในรูปแบบดังกล่าวมีปัญหา อุปสรรค
และความท้าทายในหลายประการ ทั้งในเชิงนโยบาย กฎหมาย โครงสร้างองค์กร หรือขีดความสามารถ
ของผู้ได้รับการจัดที่ดิน อาทิ ความไม่เป็นเอกภาพของรูปแบบและข้อก าหนดในการจัดที่ดิน
การก าหนดให้ใช้ที่ดินท าการเกษตรเท่านั้น โดยไม่ค านึงถึงศักยภาพของพื้นที่ และการขาดแหล่งทุน
ในการประกอบอาชีพ เป็นต้น ดังนั้น การจัดที่ดินท ากินในอนาคตจึงควรปรับปรุงกฎหมาย
และระเบียบในการจัดที่ดินให้มีเอกภาพ มีกลไกทางการเงินเพื่อเพิ่มมูลค่าที่ดินที่รัฐจัดให้กับประชาขน
สร้างความร่วมมือภาครัฐ เอกชน และประชาชน และประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน
เกี่ยวกับนโยบายจัดที่ดินท ากินของรัฐข
abstract:
Title Direction and Future of Land Allocation to Agriculturist and
Landless Individual in National Forest Reserve Without
Entitlement to Prevent a Transfer of Ownership and Ensure a
Sustainable Use
Field Social – Psychology
Name Mrs. Raweewan Bhuridej Course NDC Class 65
Land ownership is among the top inequalities in Thailand as there
are many landless households and agriculturists, leading to trespassing of State land
and dispute. To implement the Constitution of the Kingdom of Thailand (B.E. 2560
(2017)) on the duty of the State to adopt measures on land distribution to ensure
widespread and equitable land distribution, the government has implemented a land
allocation for living policy. It includes a land allocation to community under
the National Land Policy Board, in the form of land assembly without entitlement.
This research aims to study a land allocation policy for agriculturalists and landless
individuals in the national forest reserve with a goal to analyze existing problems,
barriers and challenges and provide recommendations that will prevent change of land
ownership, enhance income and quality of life, increase land value, resolve poverty and
promote sustainable forest conservation. Data is collected through a review of relevant
literature, interview of experts, government agencies, communities and individuals,
field observation and case studies of Pa Mae Jam ad Pa Khun Mae Tha National Forest
Reserves and analyzed using SWOT Analysis. The study revealed various challenges on
policy, regulation, institution and individual capacity such as lack of coherence on land
allocation practices, land use limitations, lack of consideration on land capacity and lack
of funding sources. It is suggested that regulations should be amended to ensure
coherence, financial mechanisms should be adopted, Public-Private-People cooperation
should be strengthened and public relations should be promoted to ensure a better land
allocation policy.ค