เรื่อง: แนวทางการออกพันธบัตรรัฐบาลรูปแบบใหม่เพื่อขับเคลื่อนการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ, (วปอ.9906)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางแพตริเซีย มงคลวนิช, (วปอ.9906)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง แนวทางการออกพันธบัตรของรัฐบาลรูปแบบใหม่เพื่อขับเคลื่อนการลงทุน
โครงสร้างพื้นฐานประเทศ
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นางแพตริเซีย มงคลวนิช หลักสูตร วปอ. รุ่นที่65
ประเทศไทยมีความจ าเป็นต้องลงทุนในโครงการโครงสร้างพื้นฐานอย่างต่อเนื่องเพื่อ
เพิ่มขีดความสามารถของประเทศ อีกทั้งยังต้องด าเนินการตามพันธสัญญาที่ให้ไว้กับประชาคมโลกใน
การพัฒนาเศรษฐกิจไปพร้อมกับการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยลดการ
ปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero) ภายในปี 2608 ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้ด าเนินการวิจัย
เรื่อง แนวทางการออกพันธบัตรรัฐบาลรูปแบบใหม่เพื่อขับเคลื่อนการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานของ
ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์รูปแบบและความเป็นไปได้ของพันธบัตรรัฐบาลรูปแบบใหม่
ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสร้างความยั่งยืน รวมถึงวิเคราะห์โครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานสาขา
ขนส่งและพลังงาน โดยการศึกษาจากเอกสารและการศึกษาภาคสนามเชิงลึก (In-dept Interview)
ผลการวิจัยพบว่า ตลาดพันธบัตรสิ่งแวดล้อม สังคมและความยั่งยืน (ESG Bond)
มีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากเป็นแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Mega
Trend) ที่ให้ความส าคัญกับสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน นอกจากนั้น พันธบัตรเพื่อส่งเสริมความยั่งยืน
หรือ Sustainability – Linked Bond (SLB) เป็นอีกหนึ่งผลิตภัณฑ์ภายใต้ ESG Bond ที่นักลงทุน
ทั้งไทยและทั่วโลกสนใจและลงทุนเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด ซึ่งรัฐบาลไทยยังไม่เคยออก SLB ดังนั้น
จึงเป็นโอกาสส าคัญของรัฐบาลไทยที่จะด าเนินการออก SLB เพื่อรองรับโครงการลงทุนที่เป็นมิตร
ต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งส านักงานบริหารหนี้สาธารณะมีความพร้อมและมีความสามารถในการระดมทุน
ในระดับสูง อย่างไรก็ดี จากการศึกษาพบว่า ในระยะ 5 ปีข้างหน้ารัฐบาลมีโครงการลงทุนสาขาขนส่ง
และพลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนเป็นจ านวนที่น้อยมาก
ดังนั้น รัฐบาลจึงมีความจ าเป็นที่จะต้อง 1) ด าเนินการก าหนดแผนแม่บท หรือ Master Plan
ในการขับเคลื่อนการลงทุนเพื่อลดการการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและส่งเสริมความเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อมของประเทศแบบบนลงล่าง (Top – Down) อย่างจริงจัง 2) ก าหนดลักษณะชุดโครงการ
ที่มีศักยภาพในการเพิ่มความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน (Green Flag) และก าหนดแนวทาง
การสนับสนุนการเงินให้ชัดเจน 3) ให้กระทรวงเจ้าสังกัดพิจารณาทบทวนหรือจัดท าโครงการที่มี
ศักยภาพและสอดคล้องกับแผนแม่บท 4) ให้สถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) จัดสรรเงินเพื่อลงทุนใน
ESG Bond 5) ให้แรงจูงใจทางภาษีแก่นักลงทุนที่ลงทุนในกองทุน ESG Bond และ 6) เร่งประชาสัมพันธ์ให้
สาธารณชนรับรู้และเข้าใจข้อเท็จจริง รวมถึงความส าคัญของพันธบัตรรัฐบาลตลอดจนแนวทางการมี
ส่วนรวมในการพัฒนาประเทศผ่านการลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลในรูปแบบต่าง ๆข
abstract:
Title Innovative Government Bond for Financing Thailand’s Infrastructure
Projects
Filed Economics
Name Mrs. Patricia Mongkhonvanit Course NDC Class 65
This research presents a study and recommendations on innovative bond for
financing Thailand’s infrastructure projects. The objectives are to analyze and provide
recommendations on how innovative financial products can help driving environmentally
friendly and sustainable infrastructure projects which can be key drivers in escalating
Thailand to fulfill its commitments to Bio-Circular-Green (BCG) model, Carbon Neutrality,
Net Zero, and SDGs Goal. This research is conducted by aggregating, studying, and analyzing
secondary data and in-depth interviews.
The results show that global environmental awareness and sustainability
megatrends urge the Environmental, Social and Governance (ESG) Bond market to rapidly
grow globally including Thailand. Sustainability–Linked Bond (SLB) is one type of ESG bond in
which Thailand's domestic and international investors are very eager to invest continuously.
However, the Kingdom of Thailand has never issued SLB. Hence, it is a great opportunity for
the Royal Thai government to issue SLB to respond to the investors' demand and global
megatrend together with strengthening domestic bond market development. In addition,
Public Debt Management Office, the only government debt financing agency, is well equipped
and capable of raising funds at a high level. Unfortunately, the study shows that in the
5 year-plan, the government is deficient in environmental and sustainable infrastructure
projects.
Therefore, to ensure that Thailand can fulfill its commitments, the government
has to do the following: 1) set up the Environment and Sustainability Master Plan and assign
relevant agencies to follow as a top–down policy, 2) set up Environment and Sustainability
green flag infrastructure projects, and confirm the financing source, 3) each Ministry has to
review or propose potential projects which are in line with the Master Plan 4) encourage
Special Financial Institutions (SFIs) to allocate resources for ESG Bond investment, 5) provide
tax incentives, if necessary, to ESG Bond investors, and 6) accelerate public awareness
regarding the importance of the government bonds and how they can be helped
in upgrading public well-being and Thailand’s competitiveness. ค