เรื่อง: การสื่อสารเพื่อสร้างทุนทางสังคมของหน่วยงานภายใต้กองทัพไทยและสำนักงานตำรวจแห่งชาติบนแฟลตฟอรม Tiktok, (วปอ.9901)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, ศาสตราจารย์ พิรงรอง รามสูต, (วปอ.9901)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง การสื่อสารเพื่อสร้างทุนทางสังคมของหน่วยงานภายใต้กองทัพไทย
และส านักงานต ารวจแห่งชาติบนแพลตฟอร์ม TikTok
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.พิรงรอง รามสูต หลักสูตร วปอ. รุ่นที่65
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษารูปแบบการสื่อสารเพื่อสร้างทุนทางสังคม
2. เพื่อศึกษาลักษณะที่โดดเด่นของทุนทางสังคม และ 3. เพื่อเสนอแนวทางในการเสริมสร้างทุนทาง
สังคมของหน่วยงานภายใต้กองทัพไทยและส านักงานต ารวจแห่งชาติบนแพลตฟอร์ม TikTok การวิจัย
นี้ ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากคลิปวีดิโอจากบัญชี TikTok
ของหน่วยงานด้านความมั่นคง 4 หน่วยงานได้แก่ กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ ทั้งที่
เป็นบัญชีหลักของหน่วยงาน บัญชีของหน่วยงานย่อยในสังกัด และบัญชีของบุคลากร รวมถึงข้อมูล
ความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการสร้างทุนทางสังคมผ่านเนื้อหาคลิป TikTok ของหน่วยงานความมั่นคง
โดยใช้วิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ผู้ใช้งานเนื้อหาออนไลน์ 3 กลุ่มช่วงวัย ได้แก่ Generation
X, Y และ Z กลุ่มละ 6 – 7 คน
ผลการวิจัยพบว่า 1. คลิป TikTok ของหน่วยงานด้านความมั่นคงของไทยใน
ภาพรวม มีคุณภาพคลิปดี ภาพและเสียงคมชัด มีความเป็นต้นฉบับ แต่ยังมีรูปแบบที่ยังไม่สอดคล้อง
กับระบบ Algorithm และวัฒนธรรมของแพลตฟอร์มมากนัก โดยเฉพาะในด้านการเกาะกระแสความ
นิยมต่างๆ และการสร้างความบันเทิงแก่ผู้ชม ซึ่งถือเป็นองค์ประกอบที่ส าคัญที่สุด 2. หน่วยงานด้าน
ความมั่นคงของไทย เน้นสร้างทุนทางสังคมด้วย Trust (การสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ) และ Norm of
Reciprocity (การช่วยเหลือเกื้อกูล) มากที่สุด โดยวัดจากเนื้อหาในคลิป TikTok ที่เกี่ยวกับการสู้รบ
ปกปัองประเทศ และการบ าเพ็ญประโยชน์ช่วยเหลือประชาชนตามล าดับ ส่วนการสร้างทุนทางสังคม
ที่ปรากฏน้อยที่สุดคือ Identification (การแสดงอัตลักษณ์) ซึ่งวัดจากเนื้อหาที่เกี่ยวกับชีวิตนอก
เครื่องแบบเช่นปุถุชนคนธรรมดา สะท้อนให้เห็นถึงการจัดล าดับความส าคัญของหน้าที่การงาน อยู่
เหนือชีวิตส่วนตัว และ 3. เนื้อหาคลิป TikTok ที่มีการสร้างทุนทางสังคมด้วยวิธีที่แตกต่างกัน
สามารถโน้มน้าวกลุ่มผู้ชมในแต่ละกลุ่มช่วงวัยได้ไม่เท่ากัน กล่าวคือ กลุ่ม Gen X จะสนใจเนื้อหาคลิป
ที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของทหารและต ารวจ ส่วนกลุ่ม Gen Y จะสนใจเนื้อหาที่เป็นเรื่องชีวิตนอก
เครื่องแบบหรือแง่มุมที่เป็นมนุษย์ปุถุชนทั่วไปมากกว่า ในขณะที่กลุ่ม Gen Z เป็นกลุ่มช่วงวัยที่สนใจ
เนื้อหาที่เป็นการสร้างทุนทางสังคมเกือบครบทุกวิธีการ
ข้อเสนอแนะคือ หน่วยงานด้านความมั่นคงของไทยควรพัฒนาการสื่อสารผ่าน
แพลตฟอร์ม TikTok โดยค านึงถึง Algorithm และการมีส่วนร่วมในวัฒนธรรมผู้ใช้ TikTok มากขึ้น
โดยอาจส่งเสริมให้หน่วยงานย่อยและบุคลากรเข้ามามีส่วนร่วมในการสื่อสารภารกิจในรูปแบบที่ลด
ระดับความเป็นทางการลง และมีอิสระในการคิดสร้างสรรค์มากขึ้นข
abstract:
Title Communication to promote social capital of agencies under
the Thai Armed Forces and the Office of National Police on
TikTok Platform
Field Social - Psychology
Name Prof. Emeritus Dr.Pirongrong Ramasoota Course NDC Class 65
The objectives of this research are as follows: 1. to study the communication
patterns in building social capital; 2. to study the distinctive characteristics of social
capital; and 3. to outline approaches in enhancing social capital, in the cases of the
agencies under the Royal Thai Armed Forces and Royal Thai Police on the TikTok
platform. This research uses a qualitative research method. It collects and analyzes
data from video clips sampled from TikTok accounts of four security agencies: the
Army, Navy and Air force, targeting official accounts, accounts of affiliating agencies as
well as accounts of affiliating personnel. Focus group interviews are also conducted
to gather opinions on how to build social capital through content in the TikTok clips.
Participants in the focus group sessions are from three age groups -- Generation X, Y
and Z, consisting of 6-7 people from each group.
The research has these findings : 1. Overall, TikTok clips of Thai security
agencies are of good quality with clear picture and sound as well as originality. But
the message design is generally not aligned with the algorithm and culture of the
platform, especially in terms of popular trends and entertainment that would drive
the clips to be most visible to other users. 2. The aspects of social capital most
evidently reflected in the studied TikTok clips of Thai security agencies are “Trustbuilding” and “Norm of Reciprocity.”This is portrayed most viably in clips with themes
about fighting to protect the country, and social service of the armed forces to alleviate
people in crisis or difficult situations. The least visible social capital, however, was
“Identification” (Identity shared with social groups), which is measured by content
relating to human-side issues or ordinary lifestyles outside the uniform. This may indicate
the prioritization of work-related responsibilities over other aspects of life.3. Different
types of content design for TikTok clips tend to generate attention from users in different
ways, that is, Gen X users are more interested in clips about military and police
duties, while Gen Y users are more appealed by content about life undercover or
more human-side aspects, and Gen Z users are attracted to content that reflect
social capital building in all aspects. The study has this recommendation-Thai
security agencies should explore communication advantages of the TikTok platform, ค
taking into account the underlying algorithms and engagement dynamics of the
TikTok user culture, while encouraging affiliating agencies and personnel, allowing
greater freedom and creativity, to engage in less formalized storylines.ค