Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การศึกษาแนวทางการอนุรักษ์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเลในประเทศไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, รองศาสตราจารย์สัตวแพทย์หญิง ดร. นันทริกา ชันซื่อ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

-ก- บทคัดยอ เรื่อง การศึกษาแนวทางการอนุรักษสัตวเลี้ยงลูกดวยนมทางทะเลในประเทศไทย ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ผูวิจัย รศ.สพ.ญ.ดร.นันทริกา ชันซื่อ หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๗ สัตวเลี้ยงลูกดวยนมในทะเลที่สามารถพบไดในทะเลไทย คือ พะยูน โลมาและวาฬ มีจํานวนมากกวา ๒๐ ชนิดจากการสํารวจประชากรของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมในทะเลที่สามารถพบไดใน ประเทศไทยทั้งฝงทะเลอาวไทย พบวาจํานวนประชากรมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง ดังนั้นในฐานะที่ ประเทศไทยเปนหนึ่งในประเทศที่มีการพบการอาศัยของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมในทะเลมากกวา รอยละ ๓๐ของจํานวนชนิดที่มีอยูทั่วโลก อีกทั้งสัตวเลี้ยงลูกดวยนมยังเปนสัตวที่คนทั่วโลกใหความสนใจ จึง เปนเหตุผลสนับสนุนใหประเทศไทยควรดําเนินการหาแนวทางในการอนุรักษสัตวเลี้ยงลูกดวยนมใน ทะเล เพื่อลดปญหาการลดจํานวนอยางมีประสิทธิภาพ และไดมาตรฐานในระดับสากล โดย วัตถุประสงคเพื่อศึกษาสถานการณและสภาพปญหาการอนุรักษสัตวเลี้ยงลูกดวยนมในทะเล เพื่อ เปรียบเทียบแนวทางการอนุรักษในประเทศและตางประเทศ และเพื่อเสนอแนวทางในการอนุรักษสัตว เลี้ยงลูกดวยนม ทําการศึกษาโดยการเรียบเรียงเอกสารและออกแบบสอบถามตอกลุมประชากร เปาหมาย ผลการศึกษาโดยสรุปพบวาปญหาตางๆไดมีการพยายามแกไขอยางตอเนื่อง แตภาค ประชาชนอาจไมสามารถปฏิบัติตามแนวทางบางที่ทางภาครัฐไดกําหนดไว จึงยังคงเกิดปญหาขึ้น เจาหนาที่และผูบริหารเห็นวากฎหมาย จํานวนบุคลากร งบประมาณ และเครื่องมืออุปกรณเปน ขอจํากัดในการปฏิบัติงาน สวนแนวทางการอนุรักษประเทศไทยมีกฎหมายคุมครองใกลเคียงกับ ประเทศอื่นๆ แตตางประเทศมีการบังคับใชกฎหมายที่เขมงวดและมีงบประมาณในการอนุรักษ มากกวา รวมถึงมีสถานที่เพื่อชวยเหลือดูแลการอนุรักษไดอยางมีประสิทธิภาพ

abstract:

ABSTRACT Tile Comparative studies of the conservation strategies in other countries and analysis of Thailand marine mammal conservation direction were conducted. Field Science and Technology Name Assoc. Prof. Dr. Nantarika Chansue Course NDC. Class 57 There are over 20 species of marine mammals reported in Thailand, such as, dugong, dolphin, and whale. The survey reported rapid and continuous decline of marine mammal population in the Gulf of Thailand, as well as, the Andaman Sea. Since Thailand has been recognized as a country with the existence of 30% of the world marine mammal population, the Thai government should find a suitable solution in conserving marine mammals effectively to reduce the stranding and mortality rates to international standard level. The objective of this study is to investigate and assess the status of marine mammals, together with the problems in conservation. Comparative studies of the conservation strategies in other countries and analysis of Thailand marine mammal conservation direction were conducted. The research methods included field survey and literature search with questionnaires to the target groups. The results indicated that there has been a continuous effort in solving the problems but civilians still could not follow some of the government policies. Other significant factors were the manpower, budget, and other necessary equipment. Legally, Thailand has quite a good animal protection law compared to other countries. But we are lack of law enforcement disciplines, very low budgeting, and not enough rescue facilities available to initiate the effectiveness in marine mammal conservation.