เรื่อง: การยกระดับภาคการเกษตรด้วยแนวคิดเกษตรอุตสาหกรรม, (วปอ.9873)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายใบน้อย สุวรรณชาตรี, (วปอ.9873)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง การยกระดับภาคการเกษตรด้วยแนวคิดเกษตรอุตสาหกรรม
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายใบน้อย สุวรรณชาตรี หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 65
งานวิจัยครั้งนี้ มี3 วัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดเกษตรอุตสาหกรรมและน ามา
ประยุกต์ใช้กับภาคการเกษตร วิธีการด าเนินงาน และเครื่องมือที่เหมาะสมส าหรับการยกระดับเกษตรกร
ไปสู่นักธุรกิจเกษตร 2) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาในภาคการเกษตรและการจัดกิจกรรมตามแนวคิดเกษตร
อุตสาหกรรมและสรุปข้อมูลจากกรณีศึกษาเพื่อให้ทราบถึงผลลัพธ์และผลกระทบทางเศรษฐกิจ และ
3) เพื่อเสนอแนวทางการยกระดับภาคการเกษตร ด้วยแนวคิดเกษตรอุตสาหกรรม โดยมีขอบเขตการวิจัย
ด้านเนื้อหา คือ นโยบาย หลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งแนวคิดเกษตรอุตสาหกรรมของต่างประเทศ
ขอบเขตการวิจัยด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ เกษตรกรหรือผู้ประกอบการที่เข้าร่วมกิจกรรม
ที่เกี่ยวข้องของกองพัฒนาเกษตรอุตสาหกรรมและอื่น ๆ ในกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม และขอบเขตด้านเวลา
ตั้งแต่วันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๖๕ ถึงวันที่ ๓๑ พ.ค. ๒๕๖๖
วิธีการด าเนินงานวิจัยฉบับนี้ เป็นการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ และ
การสัมภาษณ์เชิงลึกกับเกษตรกรหรือผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาด้วยเกษตรอุตสาหกรรม
เพื่อน าข้อมูลมาจัดท าเป็นกลไกขับเคลื่อนการยกระดับภาคการเกษตรด้วยแนวคิดเกษตรอุตสาหกรรม
ในส่วนของผลการวิจัยเพื่อตอบวัตถุประสงค์ทั้ง 3 ข้อ จ าแนกได้ดังนี้ 1) แนวทางการพัฒนาด้วยเกษตร
อุตสาหกรรมที่มาจากแนวคิดเกษตรอุตสาหกรรม โดยใช้เครื่องมือ 3P – 2F เป็นการท าให้เป็นเศรษฐกิจ
อุตสาหกรรม ซึ่งท าให้เกิดการเปลี่ยนโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้มีลักษณะเป็นอุตสาหกรรมมากขึ้น
ด้วยการใช้เทคโนโลยีการผลิต 2) สาเหตุหลักของสภาพการณ์แห่งปัญหาของภาคการเกษตรไทย
เป็นปัญหาเชิงโครงสร้าง คือ ลักษณะภูมิศาสตร์เขตร้อนชื้นที่เสี่ยงต่อภัยธรรมชาติ และนโยบายภาครัฐ
ที่มักเป็นการชดเชยด้วยตัวเงิน ซึ่งไม่ได้แก้ปัญหาที่ต้นเหตุ และ 3) การยกระดับภาคการเกษตรด้วย
แนวทางการพัฒนาด้วยเกษตรอุตสาหกรรมที่น ามาแก้ปัญหาในภาคการเกษตรได้ด้วยการยกระดับ
องค์ความรู้เพื่อปรับปรุงขั้นตอนการผลิตทั้งระบบ
ดังนั้น แนวทางการพัฒนาด้วยเกษตรอุตสาหกรรมเพื่อยกระดับผลิตภาพการผลิตและ
มูลค่าเพิ่มของผลผลิตด้วยแนวคิดการจัดการ (People) การใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์
เพื่อเพิ่มผลิตภาพ (Process) และสร้างมูลค่าเพิ่มแก่สินค้า (Product) ตลอดจนเชื่อมโยงเครือข่าย/คลัสเตอร์
(Friends) อีกทั้งสนับสนุนปัจจัยเอื้อในการท าธุรกิจ (Enabling Factors) หรือการใช้เครื่องมือ 3P – 2F
จึงสามารถตอบโจทย์ในการน ามาใช้แก้ปัญหาในภาคการเกษตรได้ อีกทั้งยังมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
ประกอบด้วย การเสนอแนวทางพัฒนาภาคการเกษตรด้วยแนวคิดเกษตรอุตสาหกรรม โดยใช้เทคโนโลยี
นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้วยนวัตกรรมกระบวนการ การบูรณาการ
การท างานระหว่างหน่วยงานตั้งแต่ต้นน้ าจนถึงปลายน้ า หรือจัดตั้งหน่วยงานเฉพาะกิจที่ใหญ่ขึ้นเพื่อแก้ไข
ปัญหาตามแนวคิดเกษตรอุตสาหกรรมอย่างครอบคลุม และการปรับมุมมองเพื่อแก้ไขปัญหาในภาค
การเกษตรที่ต้นเหตุอย่างยั่งยืน ด้วยการยกระดับประสิทธิภาพและผลิตภาพ สร้างมูลค่าเพิ่มผลผลิต
ซึ่งจะสนับสนุนให้เกษตรกรสามารถปรับตัวและเติบโตได้ด้วยตนเอง ข
abstract:
Title The Improvement of Agricultural Sector through Industrialized Agriculture Concept
Field Economics
Name Mr. Bainoy Suwanchatree Course NDC Class 65
This independent study (IS) covers 3 main objectives: 1) to examine the concept
of industrialized agriculture and its application to agricultural sector, methods, and tools
which are practical for transforming farmers to agricultural entrepreneurs, 2) to analyze
problems and solutions based on industrialized agriculture concept, and to summarize
key findings from case studies for results and economic impacts, and 3) to present
the approach to improve agricultural sector through the conceptof industrialized agriculture.
The methodology of this study is qualitative research and in-depth interviews
with farmers or entrepreneurs to retrieve data for constructing a mechanism to improve
agricultural sector through the concept of industrialized agriculture. Regarding the results,
this study demonstrates that 1) the approach to improve agricultural sector through the
conceptof industrialized agriculture, with the use of “3P-2F” tool, equals to the process of
industrialization which changes economic structure to be more industrialized through the
application of technology, 2) problems in agricultural sector are structural and stem from
the fact that Thailand is located on tropical zone which often faces strong weathers
and the government’s monetary compensation schemes that are not sustainable, and
3) the improvement of agricultural sector through the concept of industrialized agriculture
can solve problems by boosting farmers’ knowledge and building their know-how so that
all farming processes and productions are fully and sustainably enhanced.
Therefore, the “3P-2F” tool stands for “People” improvement through knowledge
development, “Process” improvement to raise productivity through innovation, technology,
and creativity, “Product” value addition, “Friends” from networks or clusters for knowledge
sharing and collaboration, and Enabling “Factors” that reinforce growth. These elements
are valid for solving agricultural problems, enhancing productivity, and adding product
value and quality. In addition, policy recommendations are also provided which are
1) promoting and developing process innovation in agricultural sector to sustainably
increase productivity through the application of industrialized agriculture concept and
2) establishing a special agency based on synergy from relevant organizations to jointly shift
the problem- solving perspective through the concept of industrialized agriculture.
All of which will support Thai farmers to be able to transform to agricultural entrepreneurs,
raise their product value and quality, and promote their earning and welfare. With this
success, Thai economy will prosper and eventually rise to the forefront of global market. ค